Active Learning

        Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ในระดับทักษะการคิดขั้นสูง อันประกอบด้วย การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า ซึ่งลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้าง องค์ความรู้ และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างความรับผิดชอบ การมีวินัยในการทำงานแก่ผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับการฝึกให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและทักษะของ 21st Century Skills 

        หลักสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คือ การส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ด้วยเทคนิคหรือกิจกรรมต่างๆ ผู้สอนมีบทบาทอำนวยความสะดวกและจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง จนเกิดเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful Learning)

        เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มีหลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) / การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) / การเรียนการสอนแบบกลุ่มย่อย (Small Group Teaching/Learning) / การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) / การใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ (Group Analysis/Learning) / ร่วมกันแก้ไขปัญหา (Group Problem-Solving) / การเรียนเป็นทีม (Team-Based Learning) / ตลอดจนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Learning by Doing/Activities) / การสร้างแรงจูงใจโดยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานก่อน แล้วสอนทฤษฎีเพื่ออธิบายถึงหลักการ / ฝึกให้มีการนำเสนอ และการยอมรับแนวคิดจากผู้อื่น / การให้ลงมือปฏิบัติงานจริง / การแบ่งกลุ่มทำงาน หรือการทำงานเป็นทีม / การสอนโดยเน้นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับงานในสายอาชีพ / การสร้างแรงจูงใจโดยการกำหนดโจทย์ที่น่าสนใจ / การให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติงานจากระบบจำลองซึ่งเทียบเท่าระบบจริง / การสร้างแรงจูงใจจากตัวอย่างงานที่น่าสนใจ / การใช้หลักการ PRE-PRO-POST เป็นแนวทาง ในการสอน ฯลฯ โดยการจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้จะประสบความสำเร็จได้นั้น องค์ประกอบที่สำคัญนอกจากผู้เรียนแล้ว คือ “ผู้สอน” มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนต้องมีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล และมีทักษะการสอนแบบ Active Learning



การขับเคลื่อนโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แบบ Active Learning


        โรงเรียนวัดบางหลวง อ.บางเลน จ.นครปฐม สพป.นครปฐม เขต 2 ได้รับการคัดเลือกจาก สพฐ. ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ : Active Learning ประจำปี 2562 ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา > คลิก



เอกสารที่เกี่ยวข้อง

 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้การเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active Learning) > คลิก 
 หน่วยการเรียนรู้ Active Learning ที่ได้รับ รางวัลเพื่อเป็นตัวอย่างให้กับครูในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ คลิก 
 คู่มือการใช้หน่วยการเรียนรู้ Active Learning > คลิก 
 คู่มือจัดการเรียนรู้แบบ AL: Active Learning 
    - สพป.สุรินทร์ 1 > คลิก
    - ม.ราชภัฏกำแพงเพชร > คลิก
    AL กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 > คลิก
    - ม.ราชภัฏสกลนคร > คลิก
    - ตัวอย่างการใช้กระบวนการ AL (สพป.สุพรรณบุรี เขต 3) > คลิก
 ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning > คลิก 
 ตัวอย่างกิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active Learning > คลิก 
 ตัวอย่าง เอกสารอ้างอิง Active Learning > คลิก 
 แผนการจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมบูรณาการ Active Learning > คลิก
 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ แบบ Active Learning > คลิก
 กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) > คลิก
 ตัวอย่าง เอกสารสรุปและรายงานผลการนิเทศเชิงรุก (Active Learning) > คลิก
 รูปแบบการสอนตามแนวคิดของกาเย่ > คลิก
 แบบการคิด (Cognitive Style) > คลิก
เอกสารแนวทางการนำรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ องสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ > คลิก
ก้าวแรกการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(PBL) > คลิก 



หน่วยการเรียนรู้ Active Learning 
ที่ได้รับรางวัล เพื่อเป็นตัวอย่างให้กับครู
ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้

- คำชี้แจง Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง My Story Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เลี้ยงปูนิ่ม Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง การคาดคะเนระยะทางและความสูง Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดนตรีน่ารู้ Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง บ้านอุ๊ยขาดน้ำ Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง มารู้จักจังหวะการอ่านโตเพลงไทยแสนง่าย Download
- หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สร้างสรรค์ภาพกราฟิก Download



บทความ

 การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) ตามแนวคิดไฮสโคป คลิก 
 AL คืออะไร? สอนยังไงให้เป็น AL? > คลิก
 Active Learning กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (เยาวเรศ ภักดีจิตร) > คลิก
 การจัดการเรียนการสอนแบบ AL เพื่อให้ผู้เรียนรู้จริง (กมลวรรณ สุภากุล) > คลิก
 Good Classroom Ep1 : เปลี่ยนห้องสอนเป็นห้องเรียน > คลิก
 ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning > คลิก
 Active Learning คืออะไร > คลิก
 แนวทางการจัดการเรียนรู้ 9 แนวทาง > คลิก 
 การจัดการเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning > คลิก
 ข้อสอบ Active Learning กับการเรียนการสอน > คลิก


https://www.kruchiangrai.net/2019/11/07/%e0%b8%81%e0%b8%b4%e0%b8%88%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%99%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0%b9%89-active-learning/?fbclid=IwAR3K9mXzl4XFvcgPtmXQAd9MraDPoJ9o_hYjfQzDMzD_ObEXHBfr2g67tvY


หลักสูตร Active Learning-Competency-PLC

    โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

หลักสูตร “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : PLC ระเบิดใน...เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
    - ตอนที่ 1 สร้างสมรรถนะด้วย Active Learning-PLC > คลิก
    - ตอนที่ 2 การเรียนรู้เชิงรุกเสริมสมรรถนะด้วยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย คลิก 
    - ตอนที่ 3 ประสบการณ์ และบทเรียนจากโรงเรียน กทม.> คลิก
    - ตอนที่ 4 บริบท ประสบการณ์ และบทเรียนจากโรงเรียนมัธยมศึกษา ของ สพฐ. > คลิก 



12 สัปดาห์พัฒนานวัตกรรม Active Learning พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ "ชุมชนนักปฏิบัติ AL" 
    - FB > คลิก
    - เว็บไซต์ > คลิก 



Comments