Trace evidence # 2


การประเมินด้านที่ 2
ด้านความรู้ความสามารถ สายงานนิเทศการศึกษา

1. องค์ประกอบการประเมิน การประเมินด้านที่ 2 ด้านความรู้ความสามารถ คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้

    ส่วนที่ 1 การเป็นผู้มีความสามารถในการนิเทศการศึกษา คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีรายการประเมิน 6 รายการ จำนวน 7 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
    1) การนิเทศการศึกษา (15 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    2) ความรู้และความสามารถที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา (5 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    3) การจัดทำ การใช้และการนำเสนอสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ (10 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    4) การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยทางการศึกษา ( 15 คะแนน) มีจำนวน 2 ตัวบ่งชี้
    5) การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการนิเทศการศึกษา (10 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    6) การปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย (5 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้

    ส่วนที่ 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการนิเทศการศึกษา คะแนนเต็ม 40 คะแนน มีรายการประเมิน 3 รายการ จำนวน 3 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
    1) การศึกษาด้วยตนเอง (20 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    2) การมีส่วนร่วมในวงวิชาการหรือวงวิชาชีพ (10 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้
    3) การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ (10 คะแนน) มีจำนวน 1 ตัวบ่งชี้

2. เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนเป็นระดับคุณภาพ 4 ระดับ 

ส่วนที่ 1 การเป็นผู้มีความสามารถในการนิเทศการศึกษา (60 คะแนน)
        การนิเทศการศึกษา พิจารณาจากการมีความรู้ความสามารถและทักษะในการนิเทศการศึกษา ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การประกันคุณภาพภายใน การวัดและประเมินผลการศึกษา การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการพัฒนาบุคลากร
    ตัวบ่งชี้ที่ 1 กระบวนการนิเทศการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการดำเนินการนิเทศ การศึกษา ตามกระบวนการนิเทศการศึกษา ที่ประกอบด้วย การวางแผน การสร้างเครื่องมือ การปฏิบัติการ การติดตามและประเมินผล การรายงานผล และการนำผลไปปรับปรุงและพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง และบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย นโยบายที่กำหนด
    ตัวบ่งชี้ที่ 2 การศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและความสามารถในการนำไปใช้ในการนิเทศการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปใช้ในการนิเทศการศึกษาให้แก่ผู้รับการนิเทศและผู้ร่วมงาน
    ตัวบ่งชี้ที่ 3 การจัดทำ การใช้ และการนำเสนอสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการผลิต จัดทำ หรือจัดหาเครื่องมือนิเทศในลักษณะของเอกสาร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ เพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือนิเทศ และนำเสนอได้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน
    ตัวบ่งชี้ที่ 4 การวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษาที่ทันสมัย เป็นประโยชน์และมีการนำผลไปใช้ในการพัฒนาการนิเทศการศึกษา
    ตัวบ่งชี้ที่ 5 การวิจัยและพัฒนางานนิเทศการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการวิจัยและพัฒนางานนิเทศการศึกษา และนำผลการวิจัยไปใช้ รวมทั้งมีการเผยแพร่ผลงานวิจัย
    ตัวบ่งชี้ที่ 6 การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการกำหนดกรอบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากผลการนิเทศมาประกอบ ดำเนินการตามกรอบที่กำหนด มีการรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการนิเทศการศึกษา
    ตัวบ่งชี้ที่ 7 การปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงบูรณาการงานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นงานที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกเหนือจากงานที่รับผิดชอบตามหน้าที่ความรับผิดชอบของศึกษานิเทศก์ ให้เกิดประโยชน์ต่องานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา

ส่วนที่ 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการนิเทศการศึกษา (40 คะแนน)
    ตัวบ่งชี้ที่ 1 การศึกษาด้วยตนเอง หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมความรู้ที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ นำมาสู่การสร้างองค์ความรู้ พร้อมทั้งนำไปใช้ประโยชน์ในการนิเทศการศึกษาและเผยแพร่ออกมาในรูปแบบหรือวิธีการต่าง ๆ เช่น เอกสาร บทความ สื่อ นวัตกรรม เป็นต้น
    ตัวบ่งชี้ที่ 2 การมีส่วนร่วมในวงวิชาการหรือวงวิชาชีพ หมายถึง การเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรวิชาชีพหรือวงวิชาการ และเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาทางวิชาการกับองค์กรวิชาชีพวงวิชาการ หรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา มีการนำเสนอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงวิชาการ และเป็นวิทยากรที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่งของศึกษานิเทศก์
    ตัวบ่งชี้ที่ 3 การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ หมายถึง มีการให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพอย่างหลากหลายวิธีการหรือช่องทาง เช่น การนิเทศทางไกล การให้บริการเอกสาร/สื่อทางวิชาการ การให้คำปรึกษาแนะนำ การเป็นวิทยากร เป็นต้น



- เอกสาร/รายงานการวิเคราะห์ สังเคราะห์ งานวิจัย
- แผนการนิเทศ
- บันทึกการนิเทศ
- สรุป/รายงานผลการนิเทศ
- เอกสาร หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
- สื่อ เครื่องมือนิเทศ
- เอกสาร การถอดบทเรียน 
- เอกสาร นวัตกรรม/ผลการปฏิบัติที่ดี-ดีเลิศ 
- ผลการพัฒนานวัตกรรมการนิเทศ
- ผลงานการวิจัย 
- เอกสาร หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง 
- การศึกษาค้นคว้าพัฒนาตนเอง คลิก
- ICT เพื่อการนิเทศและปฏิบัติงานของ ศน.เกริน ช้อยเครือ คลิก
- คำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ 
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 383/2559)
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 181/2561)
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 318/2561)
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 383/2562)
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 199/2563)
    (คำสั่ง สพป.นฐ.2 ที่ 418/2563)
การมีส่วนร่วมในวงวิชาการหรือวงวิชาชีพ > คลิก
การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ(คำสั่ง) > คลิก
- ร่วมแสดงความชื่นชม ยินดี เสริมสร้างขวัญและกำลังใจ > คลิก 
- รวบรวมร่วมใช้สไตล์เกริน > คลิก (ข้อมูล เอกสาร สื่อ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ เพื่อใช้ร่วมกับครู)
- สร้างเฟซบุ๊กกลุ่ม เครือข่ายนักวัดผลสพป.นครปฐม เขต 2 โดย...ศน.เกริน ช้อยเครือ > คลิก 

# การขับเคลื่อนนโยบาย 
หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ผลการดำเนินงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการความรู้สู่การพัฒนานวัตกรรม 
- จัดทำแพลตฟอร์มการนิเทศการศึกษา ของตนเอง
- PMQA 4.0 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รับผิดชอบ ตัวชี้วัดที่ .... ) 
- รวบรวมผลงานทางวิชาการ/Best Practices ของบุคลากร และหน่วยงานในสังกัด เพื่อจัดเก็บในฐานข้อมูล 
- การดำเนินงานส่งเสริมการนิเทศ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในของสถานศึกษา โครงการพัฒนาการนิเทศการศึกษา ปีงบประมาณ 2564  กิจกรรมการประเมินคัดเลือกรูปแบบการนิเทศภายในของสถานศึกษาที่ประสบผลสำเร็จ เป็นแบบอย่างได้ (Best Practice) สพป.นครปฐม เขต 2 


งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย

- School MIS > คลิก
- ผู้ประสานงานด้านวิจัยฯ > คลิก 
ผู้ประสานงานโครงการมูลนิธิสตาร์ฟิชคันทรีโฮม > คลิก
- คณะทำงานสื่อ 65 พรรษาฯ คลิก
- งาน / โครงการที่รับผิดชอบ > คลิก 
- การจัดประชุม อบรมสัมมนา จัดเข้าค่าย ตามภารงานที่รับผิดชอบ (การวัดประเมินผล ภาษาอังกฤษ) > คลิก
- บริการทางวิชาการ(คำสั่ง) > คลิก
- การเป็นวิทยากร > คลิก
- การประเมินตนเองตามตัวชี้วัดเฉพาะกิจ > คลิก
- คณะกรรมการนิเทศ กํากับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLTV) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส CORONA 2019 (COVID-19) ประจําปีการศึกษา 2563 > คลิก 



เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ว4/2563 กรอบแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา > คลิก
กรอบแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา1 > คลิก  
กรอบแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา2 > คลิก 
# เกณฑ์วิทยฐานะศึกษานิเทศก์ > คลิก 
# คุรุสภาเปิดเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนทางวิชาการหรือเงินอุดหนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประจำปี 2563 > คลิก
# ตัวอย่างงานวิจัยสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญาเอก > คลิก
# แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเชิงปัญญา (ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด)ิ > คลิก
# ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ศ.นพดล สุขปรีดี) > คลิก 
เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการเพื่อจัดทำข้อเสนอนโยบายทางการศึกษา (OEC Forum) ครั้งที่ 1 เรื่อง "AI นวัตกรรมพลิกโลกการศึกษา" เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเดอะ เบอร์เคลีย์ ประตูน้ำ กรุงเทพฯ การปรับตัวของระบบการศึกษาให้รองรับการเปลี่ยนแปลงยุคดิจิตัล โดยกฤษณพงศ์ กีรติกร > คลิก 
แนวทางการถอดบทเรียนงาน/โครงการ/กิจกรรม (ดร.รัตนา ดวงแก้ว) > คลิก 
การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน(ดร.ชาริณี ตรีวรัญญ 2557) > คลิก 
คู่มือการนำ PLC ไปใช้ในโรงเรียน ตอนที่ 1 ความหมายของ PLC > คลิก 
คู่มือการนำ PLC ไปใช้ในโรงเรียน ตอนที่ 2 การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน  Lesson Study (LS) > คลิก 
รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานตามแนวคิดทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยโครงงาน เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย > คลิก 
การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2562 > คลิก
สมรรถนะครูภาษาอังกฤษ > คลิก
นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ > คลิก 
# เว็บเพจ ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ > คลิก



# วันที่ 2 สิงหาคม 2563 เวลา 18.00 น. ร่วมงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2563 (Thailand Research Expo 2020) ออนไลน์ > คลิก 

# ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเพื่อการวางแผนนิเทศออนไลน์ 
    - หลักสูตรเรียนรู้ออนไลน์ > คลิก 
    สิ่งสำคัญที่ผู้สอนและผู้เรียนต้องคำนึงถึงในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ > คลิก
    - เครื่องมือที่จะช่วยให้การสอนออนไลน์ไม่ยากอย่างที่คิด > คลิก
    - 21 เทคนิคการสอนออนไลน์สู้ Covid-19 > คลิก
    - Course Curriculum "Innovation Education" Application เพื่อพัฒนานวัตกรรมการสอน (บันทึกการสอนสดในห้องเรียน) คลิก
    - แนะนำการใช้โปรแกรม Zoom (How to use Zoom in conducting an online classroom/meeting) คลิก
    - คู่มือการใช้งาน ZOOM > คลิก
    - การจัดการสอนออนไลน์สำหรับชั้นเรียนขนาดใหญ่ (บรรยาย LIVE หรือบันทึกล่วงหน้า) > คลิก
    - วิธีการสอนและการประเมินผล "ออนไลน์" > คลิก 
    - สตรีมการประชุมผ่านเว็บ Cisco ของคุณไปที่ Facebook Live > คลิก
    - Online Learning Tools > คลิก 
    - Learning Innovation Center, Chulalongkorn University > คลิก 
    - วิธีสร้างบทเรียนออนไลน์ด้วย google classroom เบื้องต้น > คลิก
    - คู่มือการใช้ Google Classroom (ม.ทักษิณ) > คลิก 
    - วิธีสร้างแบบทดสอบออนไลน์พร้อมทำ qr code ด้วย google form > คลิก
    - การสร้างเกียรติบัตรออนไลน์ > คลิก 
    - สร้างเกียรติบัตรจาก google form > คลิก
    - 12 เครื่องมือ (Tools Application) ที่สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน > คลิก
    - แนะนำโปรแกรม Flashback Express จับหน้าจอ > คลิก 
    - 10 โปรแกรมวิดีโอคอลยอดนิยม เหมาะสำหรับการทำงาน Work from Home > คลิก
    - 6 แอปพลิเคชันห้องเรียนออนไลน์-สั่งงานออนไลน์ สำหรับคุณครู > คลิก 
    - ClassStart ระบบห้องเรียนออนไลน์เพื่อคนไทย : จับตาข่าวเด่น (31 มี.ค. 63) > คลิก
    - การอัดคลิปวิดีโอการสอนด้วย loom > คลิก
    - ศึกษาคุณลักษณะของ Starfish Labz แหล่งเรียนรู้และชุมชนออนไลน์สำหรับนักการศึกษาและผู้ปกครอง เนื้อหามี 12 เรื่องใหญ่เพื่อพัฒนาเด็กในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 1) พัฒนาการเด็ก  2) เทคโนโลยีดิจิตัล  3) เครื่องมือครู  4) Future ready 5) เครื่องมือผู้ปกครอง  6) ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในโลกและสังคม  7) การเรียนแบบบูรณาการ  8) สุขภาพและความกินดีอยู่ดี  9) การเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม  10) ภาษาและการสื่อสาร  11) คุณธรรมและจริยธรรม  12) การศึกษาพิเศษ > คลิก 
    - วิธีสร้างห้องประชุมออนไลน์ ห้องเรียนออนไลน์ ด้วย Google Hangout Meet > คลิก 
    - ศาสตร์การสอนออนไลน์ (Online learning pedagogy) > คลิก
    - ใช้ LINE เพื่อจัดการเรียนการสอนออนไลน์ > คลิก 
    - Application ที่ใช้ในการนิเทศออนไลน์ และการปฏิบัติงานที่บ้าน (Work from Home) > คลิก 
    - คู่มือการใช้งาน Google Hangout Meet > คลิก 
    - คู่มือการใช้งาน Google Classroom สำหรับผู้สอน > คลิก
    - คู่มือการใช้งาน Google Classroom สำหรับผู้เรียน > คลิก
    - การใช้งาน Google Classroom > คลิก
    - IG ขั้นตอนการใช้งาน  Google Classroom > คลิก 
    - IG การเพิ่ม Meet ใน Classroom > คลิก 
    - VDO ขั้นตอนการใช้งาน > คลิก 
    - VDO ขั้นตอนการใช้งาน (งานของชั้นเรียน Classwork) > คลิก 
    - VDO แนะนำการสร้าง (งานแบบทดสอบ) > คลิก
    - คู่มือการใช้งานของ ZOOM > คลิก
    - Microsoft Teams > คลิก
    - คู่มือการใช้งาน Google Drive > คลิก 
    - คู่มือการใช้งาน loom > คลิก
    - คู่มือการใช้งาน webex > คลิก 
    - เทคนิคการใช้ Microsft PowerPoint > คลิก
    - คู่มือการใช้งาน oCam > คลิก
    - Open Broadcaster Software (OBS) > คลิก
    - Google Meet : การจัดประชุมทางไกล และ สอนทางไกล
https://youtu.be/N8-Hqn7uMss
    - Google Classroom : การสร้างห้องเรียนออนไลน์ แบบเริ่มต้น https://youtu.be/WYrk46E-7HA
    - Google forms : การทำแบบทดสอบออนไลน์ พร้อมตรวจคำตอบอัตโนมัติ > https://youtu.be/w5GMn56XOzs
    - Google Jamboard คืออะไร เครื่องมือใหม่ที่ต้องรู้ > https://youtu.be/k34uLhaqx2o
    - Google JamBoard (online white board) เพื่อการ brainstorm แชร์ความคิดสร้างสรรค์ > https://youtu.be/kcRrg3txeFg
    - Google Sites : การสร้างเว็บไซต์ง่าย ๆ ด้วย Google Sites > 
https://youtu.be/S-6uUpixTX8
    - ทำรูปตัวเองเป็นการ์ตูน > https://youtu.be/RjR9Phq01Qo
image to cartoon / freepik / GifCam / Free onine image editer )



1 สร้างชั้นเรียน Teams แบบ Class
2 เพิ่มผู้เรียนเข้าชั้นเรียนง่าย ๆ ด้วย อีเมล รหัส หรือ ลิงค์
3 สื่อสาร มอบหมายงาน ผ่านช่องทางสนทนา Posts
4 แบ่งปัน สร้างเอกสาร สื่อประกอบการเรียนใน Files
5 จดบันทึก ทำแบบฝึกหัด ใน OneNote Class Notebook
6 สั่งการบ้าน แบบทดสอบ เก็บคะแนน ใน Assignment
7 สอนออนไลน์พร้อมไวท์บอร์ด ด้วย Teams meeting
8 วัดประเมินการเรียนรู้ แบบสำรวจด้วย Microsoft Forms
9 วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลด้วยระบบ AI ใน Insights

✔ทรัพยากรการเรียนรู้  https://bit.ly/ObecTeams 
✔ชุดวิดีโอ Microsoft Teams  https://bit.ly/HowtoTeams 
✔ชุดวิดีโอ Microsoft Forms  https://bit.ly/HowtoForms 



เอกสารจากการค้นคว้าพัฒนาตนเอง

# ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเอง หลักสูตรการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ (Toolkits:Making Strategy Work)  
    สำนักบริหารยุทธศาสตร์ : กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ > คลิก 
เอกสารวิชาการเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม่ โครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning Tool kits) > คลิก  
    1. แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
    2. การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล (Idividual Scorecard)
    3. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
    4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
    5. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 
    6. ความคิดไร้ขีดจำกัด (Ideas are Free) 
    7. การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) 
    8. การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Governance) 
ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ(Organization Improvement Toolkits) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
    - คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์การ เวอร์ชั่น 1.0 > คลิก
# คู่มือชุดเครื่องมือ (Toolkit) จากการถอดบทเรียนเกี่ยวกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) > คลิก 
# คู่มือเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (สานักงาน ก.พ.ร.) > คลิก 
พัฒนาตนเองผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ e-Learning ของ กพร. > คลิก 
    - หลักสูตรการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม > คลิก  
# คู่มือมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ > คลิก
# ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21(ดร.ไสว ฟักขาว) > คลิก 
# การวิจัยชั้นเรียน : กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน > คลิก
# แนวทางการเปิดห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙  (สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. ศธ.) > คลิก 



# ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการถอดบทเรียน
    - การถอดบทเรียน(ยุทธดนัย)
    - ถอดบทเรียน-ใช้ ICT
    - แนวทางการถอดบทเรียน
    - แนวทางกิจกรรมถอดบทเรียน
    แนวทางการถอดบทเรียนงาน/โครงการ/กิจกรรม (ดร.รัตนา ดวงแก้ว)   
    - การถอดบทเรียน ตอนที่ 1 (โดย รศ.ดร.วรางคณา จันทร์คง) 
https://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book571/rsearch571.pdf
    - การถอดบทเรียน ตอนที่ 2 (โดย รศ.ดร.วรางคณา จันทร์คง)
https://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book572/rsearch572.pdf
    - โมเดลการจัดการความรู้ โมเดลเซกิ (SECI Model) > คลิก  

 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับผลการปฏิบัติที่ดีเลิศ (Best Practice) 
    - คู่มือพัฒนาการนิเทศสู่วิธีปฏิบัติที่ดี (นโยบาย จุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) > คลิก 
    - การจัดการความรู้ สู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (นภาลัย เสมอใจ) > คลิก   



# ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการจัดทำแผนระดับต่าง ๆ 
    - การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล IDP 
    - คู่มือการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล 
    - การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 
    - การจัดทำแผนพัฒนา / ปฏิบัติการประจำปี 
    - การสร้างแผนกลยุทธ์ 
    - แผนพัฒนารายบุคคลUBU 



# ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับคู่มือปฏิบัติงาน
    - หลักและวิธีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (พิเศษ ปั้นรัตนน์) > คลิก
    - การเขียนคู่มือปฏิบัติงานจากงานประจำ (เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์) > คลิก
    - การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (พ.อ.หญิงอรยา พูลทรัพย์)  > คลิก 
    - การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (สรรญ จินตภวัต) > คลิก 
    - การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (ม.สารคาม/เสถียร คามีศักดิ์)  > คลิก
    - การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (เสถียร คามีศักดิ์) > คลิก
    - องค์ความรู้เรื่องการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน  > คลิก
    - คู่มือนิเทศการศึกษา 
    - คู่มือการใช้กลยุทธ์การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิผลสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา (อดิศร ก้อนคำ)  > คลิก 
# ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค SWOT, TOWS
# ศึกษารูปแบบแผนภูมิ แผนภาพ ผังงาน



        สมรรถนะ 7 ด้าน (เดิม) มีพฤติกรรมตามตัวชี้วัด ในระดับใด (มากที่สุดถึงน้อยที่สุด) > คลิก
    การมุ่งผลสัมฤทธิ์
    การบริการที่ดี
    การพัฒนาตนเอง
    การทำงานเป็นทีม
    การวิเคราะห์และสังเคราะห์
    การสื่อสารและแรงจูงใจ
    การพัฒนาศักยภาพบุคลากร

ฐานสมรรถนะ ศึกษานิเทศก์

การพัฒนาวิชาชีพ
การนิเทศการศึกษา
แผนและกิจกรรมการนิเทศ
การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การวิจัยทางการศึกษา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ



การศึกษาและสังเคราะห์เอกสารเนื้อหาเกี่ยวกับ 
    หลักสูตรสมรรนะผู้เรียน  
    การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 
    ชุมชนวิชาชีพ 
    การวัดและประเมินผลการศึกษา 
    การนิเทศการศึกษา 
    การนิเทศออนไลน์ 

ประเด็นการสร้างแบบบันทึกการสังเคราะห์

ที่  ชื่อเอกสาร/การอ้างอิง  แหล่งข้อมูล  เข้าถึงเมื่อ  ประเด็นเนื้อหา แนวทางการนำไปใช้ 



# คลังข้อมูลสำหรับการทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย > คลิก

# คู่มือการพัฒนาตนเองผ่านระบบออนไลน์เสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ช่วยสู่การเป็นครูมืออาชีพ
1. คู่มือการพัฒนาครูผู้ช่วย > คลิก
2. คู่มือสำหรับวิทยากร/วิทยากรพี่เลี้ยง > คลิก 
3. แบบบันทึกสรุปองค์ความรู้และบันทึกกิจกรรมพัฒนาตนเอง > คลิก
4. เอกสารความรู้พื้นฐานประกอบการพัฒนาตนเอง > คลิก 


การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ

- ร่วมสนับสนุน ส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ การอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านหลักสูตรฟินแลนด์แบบออนไลน์ E-learning ผ่าน HCEC 185 ศูนย์ ทั่วประเทศ 
    แนวทางการดำเนินงานศูนย์ HCEC > คลิก

- หลักสูตรอบรมออนไลน์ เก็บ ว21 ได้ 20 ชั่วโมง โครงการโรงเรียนปลอดภัยในประเทศไทย หลักสูตรการลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นความร่วมมือระหว่าง สพฐ. กับ มูลนิธิศุภนิมิตร > https://www.thaisafeschools.com/...

- ร่วมรณณรงค์การดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองเด็กนักเรียน
    1. การพัฒนาและส่งเสริมความประพฤตินักเรียน
        1.1 ผู้บริหารสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับนโยบายด้านการศึกษาและการคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน “สถานศึกษาปลอดภัย นักเรียนไทยอบอุ่น” ตระหนักเห็นความสาคัญในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีแนวทางและมาตรการในการดูแลช่วยเหลือคุ้มครองนักเรียนให้ปลอดภัยจากภัยต่างๆ และดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขได้
        1.2 ผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นเครือข่ายความร่วมมือในการคุ้มครองเด็กและป้องกันเฝ้าระวังเหตุความไม่ปลอดภัยต่างๆ ทั้งในช่วงเทศกาลลอยกระทง และเทศกาลอื่น ๆ
        1.3 นักเรียนได้รับการดูแล คุ้มครอง ช่วยเหลือ ให้มีความปลอดภัยทั้งในช่วงเทศกาลลอยกระทง เทศกาลวันวาเลนไทม์ และเทศกาลอื่นๆ และได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีพฤติกรรมอันพึงประสงค์

ร่วมรณรงค์สื่อสารการพัฒนาคลังเครื่องมือมาตรฐานเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
    1. กรอบการประเมินมาตรฐานวัดสมรรถนะผู้เรียนใน 5 สมรรถนะ คือ การจัดการตนเอง การสื่อสาร การรวมพลังทางานเป็นทีม การคิดขั้นสูง และการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับ 4 ช่วงชั้น สำหรับการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนให้พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 
เพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงเครื่องมือประเมินมาตรฐานวัดสมรรถนะผู้เรียนทั้ง 5 สมรรถนะดังกล่าว สาหรับพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับความรู้ ทักษะ เจตคติที่ถูกต้อง และรู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง รวมทั้งการจัดการในเรื่องการดารงชีวิตและการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมให้ครูได้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก พัฒนาผู้เรียนให้มุ่งเน้นสมรรถนะหลักทั้ง 5 สมรรถนะได้
    2. ได้ตัวอย่างเครื่องมือประเมินมาตรฐานวัดสมรรถนะผู้เรียน ใน 5 สมรรถนะ คือ การจัดการตนเอง การสื่อสาร การรวมพลังทางานเป็นทีม การคิดขั้นสูง และการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับ 4 ช่วงชั้น เพื่อให้ได้เครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพ มาตรฐาน สาหรับการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน ให้พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาและเตรียมนาไปทดลองภาคสนาม ให้ได้เครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพ มาตรฐาน สาหรับการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน ให้พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 
ได้ประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และความสามารถด้านภาษาไทย ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อนามาพัฒนาความรู้ ทักษะ ด้านการอ่าน ความสามารถด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียน ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานในการศึกษาต่อยอดการเรียนรู้ให้สามารถดารงชีวิตและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมให้ครูได้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยการนาผลการประเมินความสามารถ ด้านการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ความสามารถด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มุ่งเน้นสมรรถนะการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
    3. ได้เกณฑ์คุณภาพเครื่องมือเพื่อวินิจฉัยความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลความสามารถจากการทดสอบความสามารถด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์ เพื่อประเมินคุณภาพด้านการอ่าน ความสามารถด้านภาษาไทยและด้านคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
ได้เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 กลุ่มสาระหลัก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ได้ต้นฉบับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระหลัก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สาหรับการวัดและประเมินผลทางการศึกษาของผู้เรียน เพื่อนาผลการประเมินไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 4. ได้แนวทางการดาเนินงานการพัฒนาระบบธนาคารหน่วยกิต (Credit Bank) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง