บุกบั่นฝ่าฟัน ร่วมกันพัฒนา
กรอบความคิดในการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรม
การประชุมอบรมสัมมนาปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ
การจัดการเรียนการสอนครูภาษาอังกฤษ
ที่ยังไม่ได้ผ่านการอบรม Boot Camp
ณ ฟีลไลค์โฮม รีสอร์ท นครชัยศรี
วันที่ 20-21 กันยายน 2562
เรียน Staff Coach & Mentor ทุกท่าน
ในหน้านี้สร้างขึ้นเพื่อการประสานงานของคณะทำงานตามโครงการฯ เนื้อหา รายการและรายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในขณะนี้ จะมีการปรับไปอีกระยะหนึ่งจนกว่าจะเหมาะสม ขอให้ยึดถือข้อมูลล่าสุดเป็นแนวทาง
@ เนื้อหาสำหรับผู้เข้ารับการอบรม > คลิก
@ กำหนดการ > คลิก
@ คำสั่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ ที่ 288 / ๒๕๖๒ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดประชุมสัมมนาปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนครูภาษาอังกฤษที่ยังไม่ได้ผ่านการอบรม Boot Camp และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ > คลิก
กรอบความคิดหลัก
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() การบูรณาการ walk rally สู่ปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน
ตามแนวทาง Boot Camp
และการจัดเรียนการสอนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน
ขั้นเตรียมการ (สร้างค่าย)
บูรณาการกรอบแนวคิด WBP: Walk Rally + Boot Camp + Phenomenon Based Learning
กำหนดรายละเอียดของกิจกรรม ทุกขั้นตอน
การเตรียมสถานที่ และสถานการณ์
การเตรียมบุคลากร วิทยากร (ชี้แจง สร้างความเข้าใจ มโนทัศน์ร่วม บทบาทหน้าที่และภารงาน ฯลฯ)
การประสานงานด้านธุรการ (แจ้งกลุ่มเป้าหมายและเชิญวิทยากร / งบประมาณ / สถานที่ / หลักสูตรและวิทยากร ฯลฯ)
การสร้าง Google Form และ QR Code เพื่อตอบรับ ยืนยันเข้ารับการอบรม
การวางแผนการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม และผลการดำเนินการ (กรอบ ข้อสอบ ก่อน-หลัง / แบบประเมินความพึงพอใจออนไลน์ + / สร้างเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง แบบบันทึกพฤติกรรมกลุ่ม / แบบสังเกตการสอน / แบบบันทึกผลการสะท้อนกิจกรรม ฯลฯ)
เปิดเว็บเพจสื่อกลางการประสานข้อมูล > คลิก หรือ
ขั้นปฏิบัติการ (เข้าค่าย)
รับรายงานตัว (ห้องประชุมใหญ่)
พิธีเปิด และการบรรยายเชิงนโยบาย
pre test by Kahoot game
![]() QR Code Pre test kahoot game
แนะนำวิทยากรหลัก วิทยากรพี่เลี้ยง และคณะทำงาน
นำเสนอสถิติข้อมูลผู้เข้ารับการอบรม > คลิก
สร้างความคุ้นเคยในหมู่มวลสมาชิก
coffee break #1 (morning)
Activity 1 การจัดการเรียนการสอนแบบ Boot Camp (3 ชั่วโมง)
Lunch break
Activity 2 แบ่งกลุ่มโดยใช้เกมหรือนันทนาการ (9 กลุ่ม ๆ ละ 9 คน) มอบหมายการปฏิบัติตามใบงาน Phenomenon Based Learning โดยบูรณาการจากกิจกรรม Walk Rally สู่ฐานกิจกรรม 9 ฐาน
(ให้ลายแทง จัดกลุ่มที่จะเข้าฐานใดเป็นฐานแรกแล้วเวียนตามลำดับค่าตัวเลข, แจ้งให้หาสื่อ ด้วย QR Code, ตอบตามโจทย์, บอกประโยชน์ที่ได้รับ ขยับสู่ฐานต่อไป) ฐานละ 10 นาที
(รวมเวลา 90+30 = 120 นาที / 2 = ชั่วโมง นั่นคือ มีช่วงเวลาเปลี่ยนฐาน ฐานละ 3 นาที) ฐานรวม
เปลี่ยนฐานโดยสัญญาณนกหวีด (สั้น 3 ยาว 1 ซ้ำ 3 ครั้ง)
ลำดับฐานและวิทยากรประจำฐาน > คลิก
รูปแบบขั้นตอนการจัดกิจกรรมในแต่ละฐานย่อย
- ตรวจสอบความถูกต้องของกลุ่มเป้าหมาย(เข้าถูกฐาน)
- นำเข้าสู่บทเรียน (เกม นิทาน เรื่องเล่าตามปรากฏการณ์ ฯลฯ)
- มอบลายแทงให้ค้นหาขุมทรัพย์ (ใบงาน หรือ QR Code เนื้อหา)
- กลุ่มร่วมกันสรุปองค์ความรู้
- ควบคุมเวลา ขานเวลา ปล่อยตัวตามเวลา
- สังเกต และบันทึกพฤติกรรมกลุ่ม
- บันทึกภาพ / คลิป
- นำใบงานซ่อนที่เดิม (แล้วแต่กรณี)
Afternoon: Phenomenon Based Learning
- กิจกรรมเข้าฐานการเรียนรู้ B1-B10 coffee break #2 (Carry)
- Total Base: Organize awareness ฐานรวม (ห้องประชุมใหญ่ 30 นาที) การจัดระเบียบการรับรู้องค์ความรู้จากฐานทั้งหมด สรุปข้อมูลที่ได้รับจากการเข้าฐานเป็นองค์ความรู้ นำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม และสะท้อนผล รวมถึง การให้ข้อสังเกตของวิทยากรประจำฐาน (อาจสุ่มกลุ่มที่นำเสนอโดยใช้โปรแกรม หรืออาจใช้ช่วงเวลาของวันถัดไป)
- ฐานและวิทยากรประจำฐาน > คลิก
Activity 3 Lesson Plan (วันที่สอง) ลงสู่แผน แบ่งกลุ่ม 17 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน (จัดโต๊ะ 17 ชุด)
- เขียนแผน (30 Min) ใช้ใบงานสถานการณ์ + ขั้นตอนการวิเคราะห์ปรากฎการณ์ + ลงสู่แผน + อ้างอิงสื่อ และ/หรือ แหล่งสื่อ แหล่งข้อมูล
- แต่ละกลุ่มปฏิบัติการสอน (Microteaching) ตามแนว Boot Camp โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon Based Learning) กลุ่มละ 15 นาที (วิทยากรประจำกลุ่ม ร่วมเข้ากลุ่ม สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม)
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ให้ข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะ) - สะท้อนผลที่คาดหวัง (ทั้งตอบรายคนและสุ่มสัมภาษณ์*บันทึกคลิป)
- ชี้แจงกระบวนการ ในระยะที่ 2 PLC และระยะที่ 3 online phase and the learning outcomes Activity 4 ปฏิบัติหลังการอบรม ทำให้ครบถ้วนสมบูรณ์จึงได้สิทธิ์ในการดาวน์โหลดวุฒิบัตร
- ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(แผนการสอนผสมผสาน) 1 แผน - ออกข้อสอบตามแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและตัวชี้วัดฯ 1 ชุด > คลิก - ชี้แจง นัดหมาย กระบวนการ PLC Online ขั้นสรุปรายงาน (ปิดค่าย) ปฏิบัติหลังการอบรม
- สรุปผลจากการถอดบทเรียนที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม
- สรุปผลจากตัวชิ้นงานและผลที่เกิดขึ้น (Lesson Plan, Item Card,
Mind map, Chart, Clip,)
- สรุปผลการทดสอบก่อนและหลังการอบรม > คลิก
- สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ > คลิก
- แหล่งข้อมูลการประเมินความพึงพอใจ > คลิก
- รายงานสรุปผลการดำเนินงาน > คลิก
- ส่งมอบวุฒิบัตรผู้เข้ารับการอบรม+เกียรติบัตรวิทยากร(ส่งทางอีเมล์)
สิ่งที่โครงการต้องจัดเตรียม (สร้างค่าย)
- สำรวจสถานที่ วางตำแหน่งฐาน 10 ฐาน ประสานอุปกรณ์และความต้องการ
- จัดทำป้ายแสดงจุดตำแหน่ง ป้ายบอกทางเข้าค่าย และป้ายที่จำเป็นต้องสื่อสาร (ชนิดกันน้ำได้) - เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม เช่น โน๊ตบุ๊ก เครื่องฉายชนิดต่าง ๆ / ปรินเตอร์ / กระดานรองเขียนขนาด A4 จำนวน 10 แผ่น (เพื่อให้แต่ละกลุ่มใช้รองเขียนระหว่างเข้าฐาน-ไม่เตรียมโต๊ะให้) / กระดาษA4 ปากกาเส้นใหญ่ กระดาษกาว คัทเตอร์ กรรไกร ดินสอ ยางลบ กบเหลาตั้งโต๊ะ ไม่บรรทัดเล็ก-ใหญ่ เชือกม้วนเล็ก ตัวหนีบ / เครื่องขยายเสียงเคลื่อนที่ นกหวีด นาฬิกาจับเวลา ฯลฯ - จัดทำตารางปฏิบัติงานของคณะทำงานและวิทยากร + กำหนดนัดหมายการประชุมวิทยากร @ ก่อนการอบรม ชี้แจงแผนงานทั้งหมด วางตัว ร่วมพิจารณาสื่อ ใบงาน ใบความรู้ วิธีการ เทคนิคการทำงาน ช่องทางการสื่อสาร ซักซ้อมกิจกรรมตามฐานให้เข้ากับเวลาที่กำหนด
@ ระหว่างวันอบรม ช่วงเบรคบ่าย สรุปสถานการณ์
- จัดทำใบกิจกรรม(ความรู้)ตามประเด็นแต่ละฐาน (B1 - B10) > นำเข้าสู่คลาวด์ (Google Drive) > ทำ QR Code (เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายใช้ scan ค้นหาข้อมูล แล้วนำมาปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายระหว่างปฏิบัติกิจกรรมตามฐาน)
- สื่อ และหรือ เอกสารประกอบการบรรยายของวิทยากร (ถ้าต้องการ)
- แอฟใช้สุ่มรายชื่อ ออนไลน์ > คลิก
- จัดทำ ใบงาน แต่ละกิจกรรม แต่ละฐานการเรียนรู้ รวมถึงแบบฟอร์ที่ใช้ในบางกิจกรรม ได้แก่
@ B1 - B10
@ ประเด็นปรากฎการณ์ 17 + สำรอง 3 (ใช้ในกิจกรรมเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ > คลิก
- ข้อสอบ Pretest / Post test และนำเข้าสู่ระบบ Kahoot ประมาณ 5 ข้อ
- ประเด็นคำถาม บทเรียนที่ได้รับจากการอบรม 1 ข้อ (หลังการอบรม)
- สร้างแบบประเมินความพึงพอใจออนไลน์ > คลิก
- จัดทำช่องทางการสื่อสาร เพื่อจัดเก็บรวบรวม ภาพถ่าย-คลิป หรือไฟล์ข้อมูล (สร้างโฟลเดอร์ในกูเกิลไดร์ฟ กำหนดสถานะ แจ้ง URL แก่คณะทำงาน) - ออกแบบตราสัญญลักษณ์ โลโก้ของงาน > คลิก
- จัดทำป้ายชื่อผู้เข้ารับการอบรม + Staff Coach (แบบหนีบหรือห้อยคอ)
- ออกแบบวุฒิบัตร + เกียรติบัตร > ส่งทางอีเมล์
และ
- เตรียมร่างกายให้พร้อม (อยู่ดี มีแฮง อย่าป่วย)
- เตรียมใจให้พร้อม (หึกเหิม ท้าทาย ไม่หวั่น เต็มใจ เต็มความสามารถ เต็มเวลาตามสถานการณ์)
ส่วนที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับ Boot Camp
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ Boot Camp 5 ขั้นตอน (Lesson Plan)
Lead in ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน Presentation ขั้นสอน Practice ขั้นฝึก Production กิจกรรมการสรุป Wrap up (Conclusion) สรุปกิจกรรม
ข้อมูลเกี่ยวกับ Boot Camp - การพัฒนาครูแกนนำภาษาอังกฤษในระดับภูมิภาค (Boot Camp) > คลิก
ส่วนที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon Based Learning) ฐานละ 10 นาที
ฐาน B1: Game .....
ฐาน B2: An Overview of Phenomenon-Based Learning คลิก ฐาน B3: Teaching and learning methods of phenomenon based learning คลิก ฐาน B4: Game ..... ฐาน B5: Suggestions on application คลิก ฐาน B9: The use of phenomena in real life คลิก
ฐาน B10: Organize awareness คลิก
การจัดระเบียบการรับรู้องค์ความรู้จากฐานทั้งหมด (ลักษณะเด่น ขั้นตอน การประเมินผล การประยุกต์ใช้) + Discuss these questions
แบบบันทึกการเดินทาง > คลิก
ฐานและวิทยากรประจำฐาน > คลิก
| เนื้อหาสาระที่ควรรู้เกี่ยวกับ Phenomenon-Based Learning
![]() ![]() - พายุทอร์นาโดในประเทศจีน > คลิก - อากาศโลกแปรปรวน > คลิก
![]() ![]() ![]() ![]() - สมรรถนะที่ 1 การคิดและการเรียนรู้ที่จะเรียนรู้ > คลิก - สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะทางวัฒนธรรม ปฏิสัมพันธ์ และการแสดงตัวตน > คลิก - สมรรถนะที่ 3 การดูแลตนเองและการจัดการชีวิตประจำวัน > คลิก - สมรรถนะที่ 4 ทักษะการสื่อสารรอบด้าน > คลิก ปรากฏการณ์ที่อาจนำสู่แผนการจัดการเรียนรู้
จัดแบ่งกลุ่ม 17 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ใช้ใบงาน 17 เรื่อง ทำกิจกรรม work shop ศึกษาข้อมูลจากสื่อตามประเด็นที่ได้รับ ร่วมกันสรุป มโนทัศน์ โครงสร้างเนื้อหา ในการนำปรากฏการณ์ที่พบจากโจทย์ มาวิเคราะห์ นำไปสู่การวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Boot Camp 5 ขั้น + PhBL)
ควรมีตัวอย่างแผนฯ ที่วิเคราะห์ปรากฏการณ์สู่แผนฯ อย่างน้อย 1 ตัวอย่าง (มาเรียมโปรเจคส์)
ประเด็น-หัวเรื่องจากปรากฏการณ์
- 7 กุมภาพันธุ์ 2563 คนร้ายคลั่ง กราดยิง > คลิก
- เฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา > คลิก - คลิปเหตุการณ์ซึนามิ > คลิก
- โครงการอาหารกลางวัน
- น้ำหลาก 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง > คลิก
- โคลนถล่ม ดินสไลด์ > คลิก
- ผลกระทบและภัยพิบัติจากพายุ
- โป๊ะล่ม
- เด็กเสียชีวิตจากการตกน้ำ
- เผาขยะ เผาไร่ ไฟป่า
- เจ็บ-ตายจากการข้ามถนน
- เด็กติดในรถ
- น้ำท่วม น้ำรอระบาย ไฟฟ้าช๊อตเสียชีวิต (บ้านไผ่)
- น้ำเน่าเสีย
- ติดบนตึกสูงที่ไฟไหม้
- อุบัติภัยจากบันไดเลื่อน
- ภัยจากพลุ ดอกไม้ไฟ
- โทรศัพท์ระเบิด
- ค้ามนุษย์
- ยาเสพติด
- เสือดำถูกล่า
- ติดค้างในลิฟท์
- พายุฝนที่ จ.อุบลราชธานี > คลิก
- อิทธิพล "ดีเปรสชัน" เตือน "อีสาน" รับมือฝนตกหนัก > คลิก
- หลายจังหวัดอ่วม ฝนถล่ม น้ำทะลักท่วมบ้านเรือน > คลิก
- สพฐ.ขจัดปัญหาเด็กจมน้ำ > คลิก
- Micro plastic เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารและส่งผลกระทบมาถึงมนุษย์ในรูปของสารพิษตกค้าง > คลิก
- ยักษ์ใหญ่ค้าปลีก บรรษัทบิ๊กๆ สมาคมการค้าต่างๆ ตลอดจนผู้ผลิตพลาสติก รวม 26 ราย ตกลงร่วมกันที่จะยกเลิก-หยุด การจำหน่ายจ่ายแจกถุงพลาสติกโดยสิ้นเชิงเริ่มเดือนมกราคมปีหน้านี้ > คลิก
- ReReef > คลิก
- เชื้อท้องเสียโนโรไวรัส ระบาดที่ราชบุรี > คลิก
- Stormquake > คลิก
- น้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็วกว่าเดิม 7 เท่า > คลิก
- Pics & real_meaning summary (Presentation 2) > คลิก
- Giving instructions ( Practice1) > คลิก
- (Productions) > คลิก- Wrap up > คลิก
- ฯลฯ
เค้าโครงการเขียนใบงาน
- คำอธิบายเค้าโครงเรื่อง จุดประสงค์ ระบุกลุ่มเป้าหมาย หรือ ระดับชั้นเรียนด้วย
- นำเสนอข้อมูลตามกรณีของปรากฏการณ์ และคำแนะนำในการแก้ไขป้องกัน (ระบุแหล่งอ้างอิงด้วย)
- โจทย์ > นำปรากฏการณ์สู่แผนฯ (ให้ใช้เวลา 30 นาที)
ตัวอย่างแหล่งข้อมูลอ้างอิง กรณีปรากฏการณ์
The Aurora Borealis in Norway
พายุ 'โพดุล' ถล่มเหนือ-อีสาน น้ำท่วมหนักหลายจังหวัด > คลิก
สุนทรพจน์อันทรงพลัง “ถ้าคุณต้องการเปลี่ยนแปลงโลก จงเริ่มต้นจากการเก็บที่นอน” โดย William H. McRaven (คุณได้อะไรจากการดูคลิปนี้บ้าง? คอมเมนท์บอกกัน)
จะไม่ให้เมืองจีนเป็นมหาอำนาจได้ไง ดูความแตกต่าง พื้นฐานการศึกษา เขาเริ่มตั้งแต่เด็ก ๆ ปรับเปลี่ยนแผนการเรียนการสอนไปตามยุคใหม่ ทันต่อเหตุการณ์
fire rainbow (รุ้งไฟ)
จะเกิดขึ้นเมื่อพระอาทิตย์อยู่เหนือเส้นขอบฟ้า 58 องศา
เตรียมความพร้อม Boot Camp'62 ก้าวต่อก้าว
วันที่ 13 สิงหาคม 2562
กลุ่มนิเทศ ติดตามวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป. นครปฐม เขต 2 ประชุมคณะทำงาน คณะวิทยากร คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนากรอบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษระดับภูมิภาค (Boot Camp) ณ ห้องประชุม PLC สพป.นครปฐม เขต 2 ชมอัลบั้มภาพ > คลิก
วันที่ 16 - 17 สิงหาคม 2562
การประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานพัฒนากรอบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ระดับภูมิภาค (Boot Camp) ณ แบบบ้านบ้าน - Feel Like Home รีสอร์ท ตำบลท่าพระยา อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม > คลิก
วันที่ 16 กันยายน 2562
ประชุมคณะทำงานเตรียมการจัดอบรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ระดับภูมิภาค (Boot Camp) ณ แบบบ้านบ้าน - Feel Like Home รีสอร์ท ตำบลท่าพระยา อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม > คลิก
วันที่ 20-21 กันยายน 2562
การประชุมอบรมสัมมนาปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนครูภาษาอังกฤษที่ยังไม่ได้ผ่านการอบรม Boot Camp ณ ฟีลไลค์โฮม รีสอร์ท นครชัยศรี > คลิก กรอบแนวคิดการติดตามผลการอบรม Boot Camp ปีการศึกษา 2562
แผนการนิเทศ ติดตาม ครูที่ผ่านการอบรม > คลิก
|