รูปแบบการปฏิบัติงานของตนเอง (ศน.เกริน ช้อยเครือ)
Vision : มุ่งมั่นหมั่นพัฒนาตน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
Mission : ร่วมพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ สู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน
มโนทัศน์การปฏิบัติงาน 4Bึ&4F (ปรับปรนมาจากวัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร)
4B
Baseline (Benchmark Planing) : วางแผนจากข้อมูลพื้นฐาน สู่การตั้งค่าเป้าหมาย ใช้เทียบเคียงมาตรฐานคุณภาพ
Best practice (Doing+Checking) : ทำตามแผน หนักแน่นตรวจตรา พัฒนาต่อยอด (Good > Better than > Best)
Block Grant (Doing+Checking) : ใช้ต้นทุนอย่างคุ้มค่า อารักขาเกื้อกูล สร้างสมดุลความพอเพียง
Benefit (Checking+Action) : ประสาน กระตุ้น ตามติด ร่วมคิด ร่วมแชร์ แก้ไข ปรับปรน เสริมแรง ให้กำลังใจ สำเร็จได้ ร่วมยกย่อง ต้องชมเชย
4F (A Fully)
A competency : เต็มกำลัง
A willing & spirit : เต็มใจ-จิตวิญญาณ
Allocation of time : เต็มเวลา
Ability knowledge : เต็มภูมิรู้
3S หน้าที่ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง
Supervision : นิเทศ ติดตาม ประเมิน
Support : สนับสนุน ส่งเสริม เติมพลัง
Self Development : พัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3win (win win win situation) ได้ประโยชน์ทั้ง 3 ฝ่าย (ยึดหลักการทำงานที่เกิดอรรถประโยชน์สูงสุด)
win 1 = ประโยชน์ต่อตนเอง
win 2 = ประโยชน์ต่อคู่กรณีการปฏิบัติ
win 3 = ประโยชน์ต่อกลุ่มผู้รับผลกระทบ
ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์งานก่อนการปฏิบัติ
ปี 2564 ![]() ![]() - วิเคราะห์โครงการองค์กรแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาองค์กรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ @ จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล @ จัดทำสื่อ e-Learning เพื่อบริการความรู้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา @ รายงานผลการดำเนินงาน ของแต่ละกลุ่มงาน/ กลุ่มสารt/ กลุ่มความรู้ @ สรรหา Best Practice ของแต่ละกลุ่มงาน/กลุ่มสาระ/กลุ่มความรู้ มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ * ตัวบ่งชี้ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ มีการพัฒนาให้เกิดเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยมีการพัฒนาองค์การ พัฒนางาน รวมถึงการพัฒนาตนเองจากองค์ความรู้ที่มาจากวิธีการจัดการความรู้ที่มีความหลากหลายซึ่งมาจากภายในและภายนอกองค์การ ประเด็น การส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) และการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) และนำองค์ความรู้มาพัฒนาตนเอง พัฒนางานและพัฒนาองค์การ โดยใช้กระบวนการวิจัย 2. มีการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ระดับกลุ่ม ระดับองค์การ และระหว่างระดับองค์การกลยุทธ์การพัฒนาสู่ระดับคุณภาพสูงสุด 1. มีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) - จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล - จัดทำสื่อ e-Learning เพื่อบริการความรู้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา - เสนอขออนุมัติหลักสูตรการอบรม e-Learning (บางหลักสูตร) เป็นหลักสูตรคุรุพัฒนาที่ใช้รับรองชั่วโมงการพัฒนาตนเองได้ - จัดทำแบบสำรวจชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ระดับต่าง ๆ พร้อมลิงก์การเข้าถึง เพื่อตรวจสอบ 3. มีการสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทำ KM/PLC อย่างชัดเจน - จัดทำเอกสารการถอดบทเรียน (กำหนดรูปแบบ วิธีการ) 4. นำผลการดำเนินงานที่ได้จากการทำ KM/PLC ไปใช้ในการพัฒนาองค์การ - จัดทำเอกสารคู่มือการพัฒนางาน (กำหนดรูปแบบของคู่มือ) 5. มีการนำกระบวนการวิจัยหรือเทคนิคการวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนา - จัดทำสื่อหรือประชุมชี้แจง การนำกระบวนการวิจัยหรือเทคนิคการวิจัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนา ![]() - จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานพัฒนาบทเรียนออนไลน์ > คลิก - โครงสร้างหลัก: รูปแบบของบทเรียนและกระบวนการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงการปฏิบัติงานโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐาน (อยู่ในคำอธิบายหลักสูตร) - การวิจัยทดลองบทเรียนออนไลน์ (จัดทำเป็นเอกสาร) - การพัฒนาต่อยอดบทเรียนออนไลน์เป็น Best Practice (กำหนดรูปแบบ จัดกิจกรรม ประเมินตัดสิน ประกาศผล) ![]() - นิเทศวิถีใหม่ (Supervision Based on New Normal) > คลิก - จัดทำแพลตฟอร์มการนิเทศออนไลน์ เพื่อใช้ผสมผสานกับการนิเทศ ออนแอร์ โดยสร้างองค์ประกอบ ดังนี้ @ ใช้แอ็พพลิเคชั่นกูเกิลคลาสรูม สร้างห้องนิเทศออนไลน์ 2 ชั้นเรียน ได้แก่ ชั้นเรียนพุทธมณฑล และชั้นเรียนทั่วไป @ กำหนดหัวข้อในชั้นเรียน ได้แก่ แผนนิเทศ / ประเด็นการนิเทศ / สรุปการนิเทศ / บันทึกการนิเทศ / สื่อ/เครื่องมือนิเทศ / ความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ / รายงานการนิเทศ / สรุปการนิเทศตามรูปแบบการนิเทศ / สร้างหัวข้อเรื่องหลักของการนิเทศ ติดตาม เพื่อสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา แนวทางปฏิบัติให้ตรงกัน ซึ่งจะมีองค์ประกอบย่อย ได้แก่ เนื้อหาสาระ ที่เป็นเอกสาร บทเรียนออนไลน์ e-Learning เครื่องมือนิเทศ ติดตาม แบบประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นต้น โดยได้กำหนดเรื่องหลัก ๆ ไว้ 4 เรื่อง คือ 1) ระบบประกันคุณภาพการศึกษา 2) หลักสูตรและการสอน 3) การวัดและประเมินผล 4) การพัฒนาภาษาอังกฤษ @ กำหนดหัวข้อของบันทึกการนิเทศ ได้แก่ ผู้นิเทศ / วันเวลาที่นิเทศ / เรื่องที่นิเทศ / ผู้รับการนิเทศ(ระบุชื่อ/โรงเรียน) / ข้อสังเกตหรือข้อค้นพบจากการนิเทศ / ข้อเสนอแนะ / ข้อตกลง(ถ้ามี) / ข้อสรุป @ กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการนิเทศออนแอร์ผ่าน GG-Meet หรือ Zoom @ ในกรณีการซูมที่มีกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก ใช้วิธีสร้างแพลตฟอร์มให้ผู้รับการนิเทศลงทะเบียนเข้าร่วม หรือขอรายชื่อจากต้นทาง - ศน.จัดทำบันทึกการนิเทศออนแอร์ มีไฟล์เอกสารบันทึกการนิเทศ และคลิปสรุปประเด็นการนิเทศ ส่งกลับถึงปลายทางผู้รับการนิเทศ - ห้องนิเทศ ศน.เกริน แนวทางการนิเทศออนไลน์ ตามแพลตฟอร์ม Supervise by Kerin 1. สร้างห้องนิเทศตามความต้องการของผู้ขอรับการนิเทศ (สำรวจความต้องการ จัดเรียงลำดับ ตามความจำเป็นเร่งด่วน/จำนวน) 2. ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์เนื้อหา ออกแบบกิจกรรม ภารงานเพื่อการเรียนรู้ สร้างสื่อ สร้างเครื่องมือวัดและประเมิน เกณฑ์ 3. กำหนดช่วงเวลา 4. เชิญกลุ่มเป้าหมายเขาห้องนิเทศ เแจ้งรหัสเข้าชั้นเรียน 5. ดำเนินการนิเทศตามที่ออกแบบไว้ (ปฏิบัติการสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปฏิบัติตามขั้นตอนหรือใบงาน ประเมิน ประมวลผล) 6. ออกเกียรติบัตรแก้ผู้ผ่านเกณฑ์การนิเทศ (เป็นผู้พัฒนาตนเองโดยรับการนิเทศเรื่อง...ตามเกณฑ์การประเมิน) 7. ร่วมกันวางแผนต่อยอดการนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนางาน ฯลฯ ปี 2563 ![]() - เพ็จประสานงานโครงการมูลนิธิโรงเรียนสตาร์ฟิชคันทรีโฮม > คลิก ![]() ![]() ![]() - Virtual Exam NPT2 > คลิก ![]() ![]() - สำหรับคุณครูผู้สอนภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมตัวสอบฯ > คลิก - (คลิป) การใข้ CEFR ในการวัดระดับภาษาอังกฤษ > คลิก - EF SET ทดสอบภาษาอังกฤษ ระดับ A1 (ระดับเริ่มต้น) > คลิก | ระดับ A2 (ระดับต้น) > คลิก ระดับ B1 (ระดับกลาง) > คลิก | ระดับ B2 (ระดับกลางสูง) > คลิก ระดับ C1 (ระดับกลางสูง) > คลิก | ระดับ C2 (ระดับชำนาญ) > คลิก - VDO แนะนำข้อสอบและฝึกทำข้อสอบ Linguaskill by Cambridge สำหรับครูภาษาอังกฤษ > คลิก - การขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ต้องผ่านภาษาอังกฤษระดับ B1 ตามเกณฑ์ CEFR > คลิก ![]() - เพ็จ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (ถอดบทเรียน School MIS) > คลิก ![]() ประจำปีการศึกษา 2563 > คลิก ![]() ![]() ![]() - (ฉบับมาตรฐานวิชาชีพ) > คลิก - (ฉบับปฏิบัติการ 2/2563) > คลิก ![]() - ข้อมูลครูเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาภาษาอังกฤษ > คลิก - ข้อมูล รางวัล/ผลการปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน > คลิก - ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน > คลิก - ข้อมูลนักเรียนรายชั้น > คลิก - ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล > คลิก - ข้อมูลครูสอนภาษาอังกฤษ > คลิก - สำรวจ ตชว.16 > คลิก - โรงเรียนเข้าโครงการ > คลิก - เพจ ยกระดับ-ปรับคุณภาพ > คลิก - เพจ O-NET > คลิก - เพจ NT > คลิก - เพจ RT > คลิก - เพจ ข้อสอบมาตรฐานปลายปี > คลิก สร้าง IG มโนทัศน์การปฏิบัติงาน 4Bึ&4F ![]() การบริหารจัดการความรู้ : ภูมิรู้ สู่ ภูมิทำ สมรรถนะการนิเทศการศึกษา 3 ด้าน 1) สมรรถนะด้านความรู้ 2) สมรรถนะด้านทักษะความสามารถ 3) สมรรถนะด้านคุณลักษณะ - มีความรู้ ความเข้าใจในสมรรถนะการนิเทศการศึกษา - ความรู้ที่เกี่ยวกับโรงเรียนที่นิเทศ - การวิเคราะห์ผู้รับการนิเทศและผู้เรียนรายบุคคล สภาพปัจจุบัน ปัญหาความต้องการของผู้รับการนิเทศ - การนำกระบวนการวิจัยไปใช้ในการนิเทศการศึกษา - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา - การศึกษาทำความเข้าใจกับเนื้อหาสาระวิชาที่นิเทศ - เทคนิคการนิเทศแนวใหม่ - การสร้างนวัตกรรมการนิเทศการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนผังความคิดการเสริมสร้างองค์ความรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนที่ต่อเนื่องยั่งยืน - การประกันคุณภาพการทำงานของศึกษานิเทศก์ - การบริหารจัดการหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ - การจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผล - การประกันคุณภาพการศึกษา - การวิจัยในชั้นเรียน - การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ มาตรฐานความรู้ของศึกษานิเทศก์ที่ต้องมี : - ด้านการนิเทศการศึกษา - ด้านนโยบายและการวางแผนการศึกษา - ด้านการพัฒนาหลักสูตรและการสอน - ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา - ด้านการบริหารจัดการการศึกษา - ด้านการวิจัยทางการศึกษา - ด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ - การใช้กลวิธีการถ่ายทอดความรู้ แนวคิด ทฤษฎี เพื่อพัฒนาคุณภาพของการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ - โจทย์สำคัญที่จะต้อง กำหนดแนวทางในการแก้ปัญหา ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้สถานศึกษา ครูและผู้บริหารโรงเรียนได้ตระหนักเห็นความสำคัญและพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานให้บรรลุถึงเป้าหมายแห่งคุณภาพ | โดยสร้างแบบจำลององค์ประกอบหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ ตามมาตรฐานตำแหน่ง วิเคราะห์งานตามมาตรตำแหน่ง 3S หน้าที่ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง Supervision : นิเทศ ติดตาม ประเมิน Support : สนับสนุน ส่งเสริม เติมพลัง Self Development : พัฒนาตนเองและวิชาชีพ วิเคราะห์สมรรถนะของศึกษานิเทศก์และการนิเทศการศึกษา สร้างรูปแบบการนิเทศ Kerin's Supervision Model : PREEA Review & PLC : พยายามทบทวน Evaluation & PLC : ชวนแลกเปลี่ยแบ่งปัน เวียนกันประเมิน Extension : ดำเนินต่อเป็นเบสท์ Admiration : เมื่อสำเร็จยกย่องชมเชย สร้างกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวทางบูรณาการใช้ Social Media ในการปฏิบัติงาน สร้างกรอบแนวคิดการนิเทศ ศึกษาการวิเคราะห์เศรษฐกิจพอเพียงเชิงระบบ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่าง Kerin's Model กับ Practice Model ยึดหลัก 4 ป. ในการทำโครงการฯ (consideration) - ประโยชน์ (Benefit)- ประหยัด (save) - ประสิทธิภาพ (Performance) - ประสิทธิผล (effectiveness) ศึกษาเอกสารที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ - มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานศึกษานิเทศก์ (26 ม.ค.64) > คลิก - สมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของศึกษานิเทศก์ > คลิก - แนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน > คลิก - สื่อนำเสนอ การนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน > คลิก |