ระบบประกันฯ แนวใหม่

นิเทศ ประสานงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
การประเมินคุณภาพภายนอกที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

นำเสนอข้อมูลโดย ศน.เกริน ช้อยเครือ



แข้งข่าว เล่าเรื่อง

 ข้อมูลสถานศึกษาที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก ประจำปีงบประมาณ 2565 สังกัด สพป.นครปฐม เขต 2 > คลิก 
 รายชื่อสถานศึกษาที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (บ้านคลองโยง/บ้านคลองสว่างอารมณ์/วัดสุวรรณาราม) > คลิก   
 ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนางานระบบประกันคุณภาพภายใน 117 โรงเรียน > คลิก  
 แนวทางการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19 > คลิก 
 กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์ COVID-19 > คลิก 
 (ร่าง) แนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) สำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา > คลิก 
 เครื่องมือสังเคราะห์ SAR สพป.นครปฐม เขต 2 > คลิก 
 เอกสารแนวทางการสังเคราะห์ SAR > คลิก 
     - คู่มือสังเคราะห์รายงานผลการจัดการศึกษา SAR ปีการศึกษา 2563
     - แบบบสังเคราะห์ SAR การศึกษาขั้นพื้นฐาน
     - แบบบสังเคราะห์ SAR การศึกษาปฐมวัย
     - แบบบันทึกการวิเคราะห์ 
 เกณฑ์-เครื่องมือ การประเมินภายใต้สถานการณ์โควิด-19 การศึกษา ปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน > คลิก
    เครื่องมือประกอบด้วย
    CO-02 แบบตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) > คลิก
    CO-02-2 แบบตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) โดยคณะผู้ประเมิน การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คลิก 
    CO-03-2 แนวทางการพิจารณา SAR ตามหลักเกณฑ์ของ สมศ. คลิก
    CO-04-2 รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID–19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คลิก
    CO-05 แบบคำร้องของสถานศึกษาให้ สมศ.ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม คลิก 
    CO-05 แบบคำร้องของสถานศึกษาให้ สมศ.ลงพื้นที่ Online > คลิก 
    CO-06 ตารางนัดหมายการตรวจเยี่ยม (ระหว่างคณะผู้ประเมิน กับ สถานศึกษา) คลิก
    CO-07-2 แผนการเตรียมการก่อนลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมของคณะผู้ประเมิน > คลิก
    CO-08-2 ตารางสรุปผลการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม คลิก
    CO-09-2 รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการตรวจเยี่ยม ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คลิก 
 ตัวอย่างการเขียน CO-02 ถึง 05 (ปรับ 24 ม.ค. 64) คลิก 
 แนวทางการจัดทำ SAR แนวใหม่ > คลิก 
 ตัวอย่างรายงาน SAR 2563 > คลิก 
 ตัวอย่างการเขียน SAR ส่วนที่ 2 คลิก 
 ทำ SAR ให้สอดคล้องกับ ว.21(3ด้าน13ตัวชี้วัด) Cr. ดร.กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ศน.สพม.2 > คลิก
 โครงการส่งเสริมสถานศึกษาและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการประเมินภายนอก  ภายใต้สถานการณ์ covid-19 ประจำปีงบประมาณ 2564 
        วันที่ 29 มกราคม 2564 จัดกิจกรรมโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)  มีเกียรติบัตรให้ด้วย 
    - รับชมวิดีโอแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 โดย ดร.นันทา หงวนตัด รักษาการผู้อำนวยการ สมศ. > คลิก
    - ทำแบบประเมิน > คลิก 
 เครื่องมือช่วยนิเทศสำหรับโรงเรียนใช้ตรวจสอบความพร้อมรับการประเมินคุณภาพฯ รอบสี่ > คลิก 
 สื่อสไลด์ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและการสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพกาารศึกษาแนวใหม่ (ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ) > คลิก
 แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 : การตรวจเยี่ยมออนไลน์ โดย ดร.นันทา หงวนตัด รักษาการผู้อำนวยการ สมศ. ในวันที่ 5 มีนาคม 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น. Facebook Live ผ่านเพจ สมศ.(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา) > คลิก 
 ข้อมูลจากการอบรมหลักสูตรการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ด้านการจบการศึกษาและให้บริการข้อมูลทางการศึกษาสำหรับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา (T001) โดยกลุ่มทะเบียนและสารสนเทศทางการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. 
หน่วยที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา > คลิก 
   ตอนที่ 1 นโยบายและแนวคิดในการขับเคลื่อนการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน > คลิก
   ตอนที่ 2 แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา คลิก 
   ตอนที่ 3 การกำหนดคุณภาพของสถานศึกษา > คลิก
   ตอนที่ 4 การจัดทำแผน > คลิก 
   ตอนที่ 5 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา > คลิก 
 การดำเนินการการประกันคุณภาพภายในและความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 > คลิก 
 รายชื่อโรงเรียนที่สมัครเข้ารับการประเมินภายนอก ปี 2564 จำนวน 50 โรงเรียน > คลิก 
 ข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2564 ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามอำเภอ
    - อำเภอนครชัยศรี > คลิก 
    - อำเภอสามพราน > คลิก 
    - อำเภอบางเลน > คลิก 
    - อำเภอพุทธมณฑล > คลิก 
 ข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2563 จำแนกตามอำเภอ
    - อำเภอนครชัยศรี > คลิก 
    - อำเภอสามพราน คลิก 
    - อำเภอบางเลน คลิก 
    - อำเภอพุทธมณฑล คลิก 
 ข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2562 จำแนกตามอำเภอ
    - อำเภอนครชัยศรี > คลิก 
    - อำเภอสามพราน คลิก 
    - อำเภอบางเลน คลิก 
    - อำเภอพุทธมณฑล คลิก 


เสวนาออนไลน์ แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
23 กุมภาพันธ์ 2564 

แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
โดย ดร.นันทา หงวนตัด รักษาการผู้อำนวยการ สมศ.

การประชุมผู้ประเมินภายนอกผ่านช่องทางออนไลน์ (Facebook Live)
วันที่ 28 ตุลาคม 2563

        แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 โดยการประเมินคุณภาพภายนอก จะแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 
        - ระยะแรก การประเมิน SAR  (พิจารณาหลักฐานของ IQA ตามที่ปรากฏใน SAR)
        - ระยะสอง ประเมินจากการลงพื้นที่ (Site Visit) ตามที่สถานศึกษาร้องขอ (พิจารณาหลักฐานหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ของ IQA) ซึ่งมีวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัด.

        วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัด  จะมีขั้นตอนอย่างไร มาเตรียมความพร้อมกัน  ไปโรงเรียนไหนดี??? ...........ศน.ไปช่วยทำ......

    การจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับปฐมวัยตามกฏกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561
    # การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นระบบที่ต้องการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ปกครองและผู้เรียน ว่าการบริหารจัดการศึกษาที่รัฐ ท้องถิ่นหรือสถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการที่จะทำให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคม ซึ่งผู้ที่จะประกันคุณภาพตามการศึกษาว่า จะมีการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามที่สังคมต้องการหรือไม่ ก็คือผู้จัดการศึกษา คือ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
    # แนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษา
    # มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561
    # ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ของคนไทย เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่ง ยึดเป็นกรอบในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ ตลอดจนเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
    # การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
    # ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ก็คือการที่ผู้รับผิดชอบในการบริหารการศึกษา หรือสถานศึกษาจะรับประกันต่อสังคม ประชาชน หรือผู้ปกครองและผู้เรียน ว่าจะจัดการศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ไม่ต่ำกว่าที่มาตรฐานการศึกษาชาติ กำหนดไว้นั้นเอง 
    # พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่4) พ.ศ.2562
    # มาตรา 47
    # มาตรา 51
    #กฏกระทรวงประกันคุณภาพทางการศึกษา พ.ศ.2561 กำหนดว่า "การประกันคุณภาพการศึกษา" หมายความว่า การประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(เน้นย้ำมาตรฐานของสถานศึกษา)เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นให้แก่ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนว่า สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ทั้งนี้กฎกระทรวง ข้อ 3 กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่ง จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยดำเนินการ ดังนี้
1.กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3.ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
4.การประเมินและตรวจสอบคุณภาพภายใรสถานศึกษา
5. จัดทำรายงานประเมินตนเอง



        ตามที่สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) กำหนด 
1) จุดเปลี่ยน:การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
    1.ลดภาระเอกสาร
    2.เพิ่มเทคโนโลยี
    3.เชื่อมโยง สอดคล้องประกันคุณภาพภายใน
    4. ลดจำนวนการประเมิน(1IQA+1EQA)
    5. การประเมินเชิงคุณภาพ
    6. EXPERT JUDGEMENT
    7.HOLISTIC APPROÀCH
    8.ประเมินเพื่อ "พัฒนา" ไม่ใช่การประเมิน เพื่อรับรองหรือไม่รับรอง
    9.การวิเคราะห์โดย 3P
    10.สองระยะ คือ ระประเมิน โดย สมศ. และระยะติดตามเพื่อเพื่อพัฒนา โดยหน่วยงานต้นสังกัด
    11.คณะผู้ประเมิน
    12.จำนวนวันประเมิน
ขั้นตอน
1.Self-Assessment สถานศึกษาประเมินตนเอง
2.Pre-Analysis สมศ.วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
3.Pre-Assessment คณะผู้ประเมินภายนอกประชุมพิจารณาผลการดำเนินงานของสถานศึกษาจากรายงานการประเมินตนเองร่วมกับผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.Site Visit คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
5.EQA Report คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก



หลักการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย
    # การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการ (Quality Assurance) ปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรของสถานศึกษาโดยใช้หลักการควบคุมคุณภาพ( Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ( Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ(Quality Assessment) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
    # การประกันคุณภาพการศึกษามี 2 แบบ คือ
1. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (Internal Quality Assurance) โดยสถานศึกษา
    - ต้องผสมผสาน
    - ต้องทำอย่างต่อเนื่อง
    - ต้องทำเพื่อพัฒนา
    - ต้องเน้นผู้เรียน(เด็ก)เป็นสำคัญ
2. การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก(External Quality Assurance) โดยสมศ.
    # การประเมินคุณภาพภายนอก หมายถึง กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบุคลากรในสถานศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เพื่อตัดสินความสำเร็จตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยบุคคลภายนอกที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
    # การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาของไทย มีหน่วยที่รับผิดชอบคือสพนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)หรือสมศ.
    # หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก
    1.เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ไม่เน้นการตัดสินใจ
    2.ยึดหลักความเที่ยงตรงโปร่งใสมีหลักฐานข้อมูล
    3.มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายทางการศึกษา
    4.มุ่งใช้ความเป็นกัลยาณมิตร
    5.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
    # วัตถุประสงค์ ของการประเมินคุณภาพภายนอก
    1.เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษา
    2.เพื่อสะท้อนข้อมูลจุดแข็ง จุดอ่อนของสถานศึกษา
    3.เพื่อให้ข้อมูลเสนอแนะในการปรับปรุงสถานศึกษา
    4.เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
    5.เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษา
    # ประเมินเพื่อป้องกันความเสี่ยงใน 3 ด้าน คือคุณภาพภาพเด็ก ครู การบริหาร
    แนวทางการประเมิน
1.ใช้ผู้ประเมินจากสมศ.3 คน
2.ใช้มาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
3.ใช้เกณฑ์ของสมศ.เพื่อยืนยันผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
4.ใช้เวลาการประเมินตามสภาพการดำเนินงานของสถานศึกษาจากSAR
5.ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อยืนยันความสอดคล้องของผลประเมิน
6.เกณฑ์การประเมินมี 5 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

    แนวทางการวิเคราะห์ SAR
1.ด้านการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมี 3 ด้าน
    -ความเป็นระบบ
    -ความน่าเชื่อถือ
    -ความที่ประสิทธิผล
2.ด้านครูหรือผู้ดูแลเด็กในการทำหน้าที่พัฒนาเด็กมี 3 ด้าน
    -ความเป็นระบบ
    -ความน่าเชื่อถือ
    -ความมีประสิทธิผล
3.ด้านคุณภาพเด็กปฐมวัย มี 3 ด้าน
    -ความเหมาะสมเป็นไปได้
    -ความน่าเชื่อถือ
    -ความมีประสิทธิผล

    ผลการวิเคราะห์ SAR กับกำหนดการประเมิน
1.กรณีข้อมูลใน SAR ชัดเจนและเพียงพอ : ไม่ต้องประเมิน(Non Visit)
2.กรณีข้อมูลในSAR ไม่ชัดเจนในบางประเด็น : ประเมิน1วัน(Partial Visit)
3.กรณีขาดข้อมูลในSARหลายประเด็น : ประเมิน2วัน(Full Visit)

# แนวทางการจัดทำ SAR แนวใหม่และการจัดระดับคุณภาพสถานศึกษา (SCHOOL GRADING) โดย ดร.ฉัตรชัย หวังมีจงมี (สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.) > คลิก  

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/bukhlakr/kerin/sar/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%991.png

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/bukhlakr/kerin/sar/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%992.png

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/bukhlakr/kerin/sar/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%993.png

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/bukhlakr/kerin/sar/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%994.png

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/bukhlakr/kerin/sar/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A.jpg


การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

EP. 01 พัฒนาการเด็กปฐมวัย > คลิก
EP. 02 การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย > คลิก
EP. 03 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย > คลิก
EP. 04 การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อพัฒนาการเด็ก > คลิก
EP. 05 บทบาทของครูในการพัฒนาเด็กปฐมวัย > คลิก 



ĉ
เจนจิรา กุลศรีวัฒนไชย,
16 มิ.ย. 2564 20:23
ĉ
Webmaster Supervisory,
26 ม.ค. 2564 04:39
Comments