อบรมพัฒนาศึกษานิเทศก์ ปี 2564
วันที่ 12 - 16 กรกฎาคม 2564
รับการอบรมสัมมนาผ่านระบบออนไลน์ (Webinar) ตามโครงการอบรมพัฒนาศึกษานิเทศก์ ปี 2564 โดย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์ และสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
![]() - โครงการฯ > คลิก
- เกณฑ์การเข้ารับการพัฒนา และการจบหลักสูตร (73 ชั่วโมง)
1. การพัฒนามี 3 ระยะ ได้แก่
1) Webinar วันที่ 12 - 16 กรกฎาคม 2564
2) Web-based Training (Self Learning) วันที่ 20 - 31 กรกฎาคม 2564
3) Workshop วันที่ 1 สิงหาคม - 30 กันยายน 2564
*ไม่สามารถเปลี่ยนจุดอบรมได้ เนื่องจากการจำกัดจำนวนผู้เข้าอบรมแต่ละจุดตามประกาศของ สบค.
2. ผู้เข้ารับการพัฒนาทุกสังกัด หากไม่เข้ารับการอบรมใน ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 จะไม่ได้รับการพิจารณาให้เข้ารับการพัฒนาในระยะที่ 3
- ลงทะเบียนเข้าอบรม > คลิก
- กำหนดการพัฒนาศึกษานิเทศก์ 2564 > คลิก
- หลักสูตรฯ > คลิก
- การเข้าสู่ระบบ-ตรวจสอบ-เปลี่ยนรหัส-เพิ่ม บัญชีผู้ใช้ศึกษานิเทศก์ @esdc.go.th > คลิก
- กลุ่มไลน์ของโครงการ (รุ่น 4 กาญจนบุรี) > คลิก
- ระยะที่ 1 Webinar ระหว่างวันที่ 12-16 กรกฎาคม 2564 > คลิก
ช่องทางร่วมกิจกรรม Webinar การพัฒนาศึกษานิเทศก์ 2564 1. http://www.obectv.tv 2. http://www.youtube.com/OBECTVONLINE 3. http://www.facebook.com/obectvonline 4. https://webinar.esdc.go.th หน่วยที่ 1 : ศึกษานิเทศก์ในฐานะผู้นำทางวิชาการ (31.30 ชั่วโมง)
07.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนเข้าระบบ (webinar.esdc.go.th)
08.30 - 10.00 น. กล่าวเปิดและบรรยายพิเศษ "ประสบการณ์การทำงานกับศึกษานิเทศก์ในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ" โดย พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี กล่าวรายงานโดย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดร.อัมพร พินะสา) "ศึกษานิเทศก์ในฐานะผู้นำทางวิชาการ"
10.00 - 11.00 น. "นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ" โดย ดร.สุภัทร จำปาทอง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
11.00 - 12.00 น. "นโยบายและทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" โดย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดร.อัมพร พินะสา)
12.00 - 12.10 น. ชี้แจงการทำ Pre-test 12.10 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร 13.00 - 14.00 น. "บุคลิกภาพแบบกัลยาณมิตร" คุณทวินันท์ คงคราญ 14.00 - 15.00 น. "ทักษะการสื่อสาร"โดย พันเอก(พิเศษ)วินธัย สุวารี 15.00 - 16.00 น. "การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) และการพูดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Speaking)" โดย พันเอก(พิเศษ)วันชนะ สวัสดี 16.00 - 16.30 น. การสรุปบทเรียน 08.30 - 10.00 น. "บทบาทของศึกษานิเทศก์ในศตวรรษที่ 21" โดยรองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดร.กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ)
10.00 - 11.00 น. "การสร้างทีมงานในการทำงานที่มีคุณภาพ" โดย
1. นางทัศนีย์ จารุสมบัติ Professional Coach จากสถาบันเคอเรจทูโค้ช
2. นางพรวรินทร์ นุตราวงศ์ ข้าราชการบำนาญ อดีตพยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ ฝ่ายการพยาบาล วิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล
11.00 - 12.00 น. "การสร้างเครือข่ายการนิเทศในพื้นที่เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา" โดยนายเจตนา เมืองมูล ข้าราชการบำนาญ อดีตศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 - 15.00 น. "แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการนิเทศการศึกษา"
- OBEC CONTENT CENTER
- การศึกษาทางไกลกับการนิเทศการศึกษา
- อินโฟกราฟิกกับการนำเสนอสำหรับงานนิเทศการศึกษา
1. ดร.อโณทัย ไทยวรรณศรี ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. ดร.สุวิทย์ บึงบัว นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี
3. ดร.สุพจน์ ศรีนุตพงษ์ ผู้อำนวยการโครงการภาครัฐ บริษัทไมโครซอฟต์ (ประเทศไทย) จำกัด
15.00 - 16.30 น. "ทักษะการจัดประชุม" โดยรองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดร.กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ)
09.30-12.00 น. "ความรอบรู้ทางดิจิทัลเพื่อการนิเทศ" โดย
1. รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย2. นางสาวจารุณี สินชัยโรจน์กุล หัวหน้าโครงการด้านการศึกษาของ Google ประเทศไทย 3. นายพุทธรักษ์ มูลเมือง นักเทคโนโลยีการศึกษาอิสระ 4.นายโอฬาร ขยันการนาวี ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.ปราจีนบุรี นครนายก
5. ว่าที่ ร.อ.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร 13.00-16.00 น. "แพลตฟอร์มดิจิทัลสำหรับการรวบรวมข้อมูลเพื่อการนิเทศ และการออกแบบและวิเคราะห์สถิติการศึกษา - แอพพลิเคชั่นออนไลน์เพื่องานนิเทศการศึกษา - การประยุกต์ใช้งาน Data Studio สำหรับการนิเทศการศึกษา 1. นายอานนท์ วงศ์วิศิษฏ์รังสี ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพม.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ
2. นายอัครวิทย์ อังเรขพาณิชย์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพม.ร้อยเอ็ด 3. ดร.อดิศร ก้อนคำ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สพป.มุกดาหาร 4. นายธนสาร รุจิรา ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 5. นายพุทธรักษ์ มูลเมือง นักเทคโนโลยีการศึกษาอิสระ 16.00 - 16.30 น. การสรุปบทเรียน | หน่วยที่ 2 : รูปแบบและเทคนิคนิเทศการศึกษา (17.30 ชั่วโมง)
08.00 - 08.30 น. ชี้แจงกิจกรรม
08.30 - 10.00 น. "หลักการ แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา" โดย 1. ผศ.ดร.ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2. ผศ.ดร.อุบลวรรณ ส่งเสริม รองหัวหน้าภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. ดร.สุวิมล สพฤกษ์ศรี อาจาร์ยสาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 10.00 - 12.00 น. "รูปแบบ กระบวนการและนวัตกรรมการนิเทศการศึกษา สู่การปฏิบัติการนิเทศ" โดย 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์ คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน ประธานสาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. อ.ดร.สุวิมล สพฤกษ์ศรี อาจาร์ยสาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร 13.00 - 14.30 น. "เทคนิคการสังเกตชั้นเรียนแบบ Lesson Study" โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูสำหรับอาเซียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 14.30 - 15.30 น. "เทคนิคการชี้แนะ (Coaching)" โดย คุณธาดา เศวตศิลา ผู้อำนวยการกลุ่มลูกค้าสถาบันการศึกษา บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์คุณธรรม 15.30 - 16.30 น. "เทคนิคและทักษะที่สำคัญและจำเป็นในการนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์" โดย ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้า ข้าราชการบำนาญ อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยที่ 3 : การใช้การวิจัยเพื่อการพัฒนาการนิเทศและพัฒนาคุณภาพการศึกษา (24 ชั่วโมง) 16 กค 64 คลิก
08.00 - 08.30 น. ชี้แจงกิจกรรม
08.30 - 09.30 น. "การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยแบบผสม" โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร.ณภัทร ชัยมงคล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย09.30 - 11.30 น. "สถิติพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย" โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร.ณภัทร ชัยมงคล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11.30 - 12.00 น. "แหล่งทุนการวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา" โดย ดร.วรัญญภรณ์ ชาลีรักษ์ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติการตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านติดตามตรวจสอบการดำเนินการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 - 14.00 น. "การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน" โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.00 - 15.00 น. "การใช้กระบวนการวิจัยในการส่งเสริมการนิเทศภายใน" โดย นายกิตติ กสิณธารา ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพฐ. (ข้าราชการบำนาญ) สพฐ.
15.00 - 16.00 น. "การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้การวัดและประเมินผลแนวใหม่" โดย ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา และดร.ณัฐา เพชรธนู รองผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา/ผอ.ศูนย์ PISA สพฐ. 16.00 - 16.30 น. "พิธีปิด" กล่าวปิด โดย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดร.กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล ศน. > คลิก
เกรินไดร์ฟ 1 > คลิก
- ระยะที่ 2 Web-based Training (Self Learning) ระหว่างวันที่ 20 - 31 กรกฎาคม 2564
ศึกษาค้นคว้า และปฏิบัติชิ้นงานผ่าน Web-based Training จำนวน 3 ชิ้นงาน
1) ศึกษารวบรม รูปแบบและเทคนิคการนิเทศการศึกษา จำนวน 5 รูปแบบ
2) ศึกษางานวิจัย สังเคระห์ และจัดทำรายงานวิพากษ์งานวิจัย จำนวน 2 เรื่อง โดยไม่ซ้ำประเภทกัน (เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ แบบผสม) จากที่กำหนดให้ 15 เรื่อง
3) สร้างเครื่องมือวิธีการประเมินผลฐานสมรรถนะ (ออกแบบเครื่องมือประเมินผลแนวใหม่ ความรู้ ความเก่ง ความดี อย่างละ 3 แบบ)
ภาระงาน ใบงานที่ 1 รูปแบบนิเทศการศึกษา ใบงานที่ 2 งานวิจัย ใบงานที่ 3 เครื่องมือวัดประเมินผล - ระยะที่ 3 Workshop ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 30 กันยายน 2564 ได้เพิ่มพูนสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการเป็นศึกษานิเทศก์ ผู้นำทางวิชาการ สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนาไปสู่การนิเทศการศึกษาแนวใหม่ โดยใช้กระบวนการวิจัยที่เป็นการทำงานอย่างเป็นระบบ มีการใช้งานฐานวิจัยในการทำงาน ให้สามารถทำงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งในระดับชั้นเรียน และระดับสถานศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ. |