วิทยาการคำนวณ


 เรื่องน่ารู้ 

- เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ Computational Thinking ‘Coding’ เสริมสร้างทักษะการคิดของเด็กไทยในยุคดิจิทัล ฝันไปหรือทำได้จริง (30 พ.ย.62) > คลิก  
    @ FINNISH ICT CURRICULUM > คลิก
    @ วิทยาการคำนวณ การจัดการเรียนรู้สู่การพัฒนาประเทศ > คลิก
    @ การวัดและประเมินการคิดเชิงคำนวณ (ศ.ดร.อุทุมพร จามรมาน) > คลิก 
- สพป.นครปฐม เขต 2 พัฒนาศักยภาพครู coding (18 สิงหาคม 2562) > คลิก 
- รู้จักวิชา “วิทยาการคำนวณ” วิชาบังคับใหม่ ที่เริ่มเรียนตั้งแต่ปี 2561 นี้ > คลิก 
- พ่อแม่จะเตรียมตัวอย่างไร…ในวันที่เด็กไทยต้องเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ > คลิก 
ตอบข้อสงสัยของคุณพ่อ-แม่ กับวิชาวิทยาการคำนวณ > คลิก 
คอมพิวเตอร์กับการพัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อดึงศักยภาพให้ลูกของคุณ > คลิก 
แท็ก: ทำไมต้องให้ลูกเรียนเขียนโปรแกรม > คลิก 
- 9 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ เตรียมตัวลูกให้พร้อมเรียนวิชาเขียนโปรแกรม (วิทยาการคำนวณ) ปี 61 > คลิก 
- วิทยาการคำนวณ วิชาใหม่ของนักเรียนไทย เรียนตอนเปิดเทอมใหม่ ปีการศึกษา 2561 > คลิก 
- ปฏิรูปหลักสูตรแกนกลางใหม่ พลิกโฉมสังคมไทย ก้าวสู่ Thailand 4.0 กับ วิทยาการคำนวณ (Computing) > คลิก 
- แอบดูหนังสือวิทยาการคำนวณ ชั้น ป.4 (สสวท.) > คลิก 
- หนังสือวิทยาการคำนวณ เอกชน  
        # วิทยาศาสตร์ ม.1 > คลิก
        ออกแบบฯ ม.1 คลิก
        วิทยาการคำนวณ ม.1 คลิก
        วิทยาการคำนวณ ม.4 คลิก
        วิทยาการคำนวณ ป.1 คลิก
        วิทยาการคำนวณ ป.4 คลิก
- เอกสารวิทยาการคำนวณ#1 > คลิก 
เอกสารวิทยาการคำนวณ#2 > คลิก 
- เอกสาร รู้จักวิทยาการคำนวณ (หน่วยศึกษานิเทศก์) > คลิก 
- เฟซบุ๊ก: หลักสูตรการออกแบบและเทคโนโลยี ปี 2560 > คลิก 
คู่มือการใช้หลักสูตร สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) > คลิก 
สื่อ PowerPoint วิชาวิทยาการคำนวณ ม.1 > คลิก 
5 เหตุผลกับ Coding ง่ายกว่าที่คิดพิชิตยุคติจิตัล > คลิก 
- CodingThailand by depa (FB) > คลิก
IoT Engineering Education > คลิก  
VIJJA Education >  คลิก 
123 Coding Cards: How to move from Scratch to Python > คลิก
10 เครื่องมือที่เล่นแล้วได้ทักษะการ Coding > คลิก
12 ซอฟต์แวร์ฟรีสำหรับเรียนรู้การเขียนโค้ด (โค้ดดิ้ง) > คลิก
‘โค้ดดิ้ง’ ภาษาที่ 3 ปั้นเด็กไทย สู่ยุคดิจิทัล > คลิก 
- เกมโค้ดดิ้งออนไลน์ > คลิก 
อยากให้เด็กไทยเก่ง Coding เริ่มได้แล้วผ่านแพลตฟอร์ม CodingThailand.org > คลิก 
แนะนำเว็บสอนเขียนโคดดิ้งสำหรับเด็กไทย > คลิก 
อยากเรียนโค้ดดิ้งจากที่บ้านไปที่เว็บไหนได้บ้าง? > คลิก 
Coding จำเป็นแค่ไหนสำหรับเด็ก (ศน.อ๋อ เจษฎา ก้องสาคร) > คลิก
- CODING ภาษาแห่งอนาคต กับเมืองนวัตกรรมที่ตอบโจทย์อนาคตเด็กไทย! > คลิก 
- ทำความรู้จักกับ Coding วิชาแห่งโลกอนาคต > คลิก 
- Coding ดีอย่างไร ทำไมต้องให้ลูกเรียน > คลิก 
- ตัวอย่างใบงาน สอนโค้ดดิ้ง ไม่มีคอมพิวเตอร์ Unplugged Coding สำหรับเด็กเล็ก > คลิก 
- 7 เกมฝึกลูกเขียนโปรแกรม > คลิก 
- สสวท.ชวนดู ตัวอย่างกิจกรรมง่าย ๆ สำหรับน้อง ๆ ประถม > คลิก
รีวิว 7 เกม ฝึกลูกเขียนโปรแกรม > คลิก



PLC Coding ปั้นเด็ก คิดเป็น




สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
สาขาคอมพิวเตอร์

        เพื่อให้ครู มีความเข้าใจ และสามารถจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ในส่วนของตัวชี้วัดเทคโนโลยี จึงขอเสนอ การเทียบเคียงตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลางฯ ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี > คลิก

        ในส่วนของวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ได้จัดทำเอกสารสรุปภาพรวม หลักสูตรและตัวชี้วัด ง.๓.๑ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักสูตร ๒๕๕๑ กับ ว.๔.๒ เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) หลักสูตรปรับปรุง ๒๕๖๐ ดังเอกสาร > คลิก

        คำอธิบายรายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ / มัธยมศึกษาปีที่ ๔ > คลิก 

        คำอธิบายรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) > คลิก

        หนังสือเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จำหน่ายโดยศูนย์หนังสือจุฬา ราคาหนังสือเรียนและแบบฝึก วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สสวท. ( รายละเอีดเพิ่มเติม > คลิก )



12 ซอฟต์แวร์ฟรี !!! สำหรับเรียนรู้การเขียนโค้ด (โค้ดดิ้ง) เริ่มต้นจากการต่อบล็อกเชิงกราฟิก ไปสู่การเขียนโค้ดในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย และเชื่อมต่อกับฮาร์ดแวร์ได้

References
– Google Blockly Games > คลิก
– Scratch 3.0: > คลิก
– Scratch Link Extensions > คลิก  ev3 > คลิก
– Microsoft Makecode for Microbit > คลิก
– Micropython for Microbit > คลิก
– Wyliodrin > คลิก + คลิก
– STEMpedia PictoBlox > คลิก + คลิก
– MicroBlocks > คลิก + คลิก
– Arduino IDE > คลิก
– Arduino Create > คลิก
– Mu Editor for Python/MicroPython/CircuitPython > คลิก + คลิก
– AUTODESK Tinkercad > คลิก + คลิก

IoT Engineering Education @ KMUTNB, Bangkok / Thailand



 ตัวอย่างกิจกรรมกันง่าย ๆ สำหรับน้อง ๆ ประถม


 ศธ.เตรียมนำหลักสูตร Mind Coding มาใช้กับนักเรียนระดับประถมศึกษา (Credit Lalimay) 

ทำความรู้จักกับ Coding วิชาแห่งโลกอนาคต

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/computing/67119602_1075965832601942_2416502399213502464_o.png

        คุณพ่อคุณแม่อาจจะสงสัยว่า Coding คืออะไร การเขียนโค้ดจะยากเกินไปสำหรับลูกหรือเปล่า หรือมันจำเป็นต่อตัวลูกอย่างไรในอนาคตจริง ๆ แล้ว การเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกกันว่าโค้ดดิ้ง (Coding) เป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด เพราะในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาท อีกทั้งการฝึกเขียนโค้ดตั้งแต่เด็กจะช่วยฝึกฝนการคิดของลูกอีกด้วย

Coding คืออะไร

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/computing/67419958_1075966032601922_3549646386876121088_o.png

        การ Coding คือ การเขียนชุดคำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย “โค้ด (Code)” เพื่อให้โปรแกรมทำตามคำสั่ง อธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือการสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทำตามที่เราต้องการ โดยการใช้ภาษาของคอมพิวเตอร์ เช่น C++, PHP, Java หรือ Python

เรียน Coding ได้อะไร

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/computing/67600728_1075965905935268_2524962881921875968_o.png

        เป็นทักษะที่ช่วยให้เด็กคิดทุกเรื่องอย่างเป็นเหตุเป็นผล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดทักษะการแก้ปัญหา คือ สามารถแตกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อหาสาเหตุและวิธีแก้ไขในแต่ละส่วนไปทีละเปลาะ อีกทั้งในแต่ละขั้นตอนการเขียนโค้ดจะได้เรียนรู้ระบบการวางแผน เมื่อฝึกฝนไปสักพักก็จะทำให้เข้าใจหลักการและจับประเด็นได้ดีขึ้น

วิชา Coding ที่เด็กไทยได้เรียน

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/computing/67084912_1075965955935263_6761332298425040896_o.png

        วิทยาการคำนวน อยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เป็นวิชาบังคับในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) จากเดิมที่เด็กไทยได้เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ ในหลักสูตรนี้จะสอนให้เป็นผู้เขียน ผู้พัฒนา และได้ฝึกหัดคิดอย่างเป็นระบบคอมพิวเตอร์มากขึ้น
        โครงสร้างหลักสูตรแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก
        1. Computer Science (วิทยาการคอมพิวเตอร์) หัวใจหลักของวิชานี้ ทำให้คิดได้เป็นขั้นตอน โดยใช้การเขียนโปรแกรมมาเป็นเครื่องมือ ตามแนวทาง Computational Thinking
        2. ICT (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ทำให้สามารถรวบรวมข้อมูล จัดการข้อมูล นำข้อมูลมาประมวลผล และทำการตัดสินใจจากพื้นฐานของข้อมูลได้
        3. Digital Literacy (รู้เท่าทันดิจิทัล) การรรู้ทันเทคโนโลยี เป็นเรื่องสำคัญ อีกทั้งสามารถสร้างสรรค์ผลงานบนเทคโนโลยีได้

เริ่มต้นการ Coding ด้วยตัวเอง

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/computing/67613516_1075966155935243_5169265261273939968_o.png

        จริง ๆ การเขียนโปรแกรมสามารถเริ่มเรียนได้ตั้งแต่ 5 ขวบ โดยอาจเริ่มจากการเรียนรู้เรื่องของการจัดการคำสั่ง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และเมื่อลูกโตขึ้นก็อาจจะปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนตามความเหมาะสม ซึ่งเดี๋ยวนี้ก็มีเว็บไซต์ให้เรียนแบบออนไลน์ด้วย คือ
https://www.codingthailand.org/ และ https://code.org ที่สอนเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้เกม และตัวละครจากการ์ตูนเป็นสื่อ



Comments