การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ขับเคลื่อนการดำเนินงาน School MIS
สื่อสารการขับเคลื่อน ![]() คะแนน 4.46074 คิดเป็นร้อยละ 89.21 ระดับมาตรฐานขั้นสูง ![]() ![]() ![]() - ทำ gg form เพื่อสำรวจสมาชิกผู้รับผิดชอบการทำงานโปรแกรม School MIS +ครูวัดผล (วิชาการ) ประกอบด้วยข้อมูล ชื่อสกุล ตำแหน่ง โรงเรียน เบอร์โทรศัพท์ ไลน์ fb ของทุกโรงเรียน พร้อมแนบไฟล์คำสั่งแต่งตั้ง / ให้เข้าร่วม fb เครือข่ายนักวัดผล และไลน์กลุ่ม school mis - วางแผนการจัดทำข้อมูลตั้งแต่ต้นปี แบ่งหัวข้อการทำงาน และวางแผนระยะเวลาในการทำงาน การตรวจสอบรายละเอียด - จัดประชุม ออนไลน์ หรือทำเป็นคลิปวิดิโอ/ คู่มือ การทำงาน ในโปรแกรม / อาจแบ่งประชุมเป็นกลุ่มเครือข่าย 13 กลุ่ม หรือ แบ่งเป็น 4 อำเภอ - เชิญศึกษานิเทศก์ประจำกลุ่มเครือข่ายเข้าร่วมประชุมออนไลน์ด้วย วางแผนการทำงานตลอดแนว ตั้งแต่เริ่มต้นปีการศึกษา 2564 จนถึงจบปีการศึกษา - ประชุมทีมแอดมิน เป็นระยะ ๆ ก่อนการทำงาน ระหว่างการทำงาน และหลังการทำงาน มีสรุป และรายงานการปฏิบัติงาน อย่างเป็นรูปธรรม / หน้าที่ บทบาทการทำงาน ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() - เข้าอบรมออนไลน์ > คลิก
![]() (School MIS) > คลิก ![]() ประชุมทางไกล ชี้แจงแนวทางการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา วันศุกร์ที่ 19 มิ.ย. 2563 # เอกสารประกอบการประชุมทางไกลฯ ppt-ชี้แจงตัวชี้วัด63 # หนังสือแจ้งปรับแนวทางและปรับปรุงคู่มือฯ > ศธ 04011-ว340 # คู่มือการประเมินตัวชี้วัดฯ 63 (ไฟล์ PDF) > คลิก # คู่มือการประเมินตัวชี้วัดฯ 63 (ไฟล์ WORD) > คลิก # หนังสือแจ้งเปิดระบบ KRS (รายงานตัวชี้วัดที่ 11.3) > คลิก# ระบบรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ > คลิก ผลการดำเนินงานรายงานการบันทึกผลการเรียน โปรแกรม School MIS
ปีการศึกษา 2561 (ลำดับที่ 40) > คลิก
ปีการศึกษา 2562 (ลำดับที่ 63) > คลิก ปีการศึกษา 2563 (ลำดับที่ 63) > คลิก สรุปผลการดำเนินงานการรายงานผลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
- องค์ประกอบที่ 1 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นฐาน งานประจำตามหน้าที่ปกติ หรืองานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี (Function Base)
- ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลผลการเรียนรายบุคคล โรงเรียนกรอกข้อมูลในโปรแกรม SchoolMIS และ SGS Online ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2562 สรุปผลการประเมิน คือ 5 คะแนน (4.86583)
- กลุ่มนิเทศ ติดตําม และประเมินผลการจัดการศึกษา วางแผน ให้คำปรึกษา และติดตามให้สถานศึกษาในสังกัด บันทึกข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนรายบุคคลด้วยระบบ SchooIMIS ครบถ้วน สมบูรณ์ ตามกรอบเวลาที่ สพฐ. กำหนด ดังนี้ 1. จำนวนผู้เข้าเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที 6 ปีการศึกษา 2561 หรือเทียบเท่า จำนวน 21,890 คน 2. จำนวนผู้เข้าเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 หรือเทียบเท่า ทั้งหมด จำนวน 22,808 คน ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : รอง ผอ.สพป.นครปฐม เขต 2 ที่รับผิดชอบกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นํายธีระพงษ์ ศรีโพธิ์
2. น.ส.เกริน ช้อยเครือ
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน คำอธิบาย : 1. ใช้ข้อมูลจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ปีการศึกษา 2561 ในระดับ ป.6 , ม.3 และ ม.6 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการสอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ม.3 จ านวน 4 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการสอบ O-NET ชั้น ม.6 จำนวน 5 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ กรอบการรายงานผล ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เฉพาะในความรับผิดชอบของกลุ่มนิเทศฯ) ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET (ใช้ข้อมูลจาก สทศ.) ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1) มีคลิปวีดิทัศน์สำหรับจัดการเรียนการสอนผ่านระบบการศึกษาทางไกล 2) จัดการประกวด/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สำหรับครู และนักเรียน 3) นิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานการนิเทศภายในของสถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อยเขตพื้นที่การศึกษาละ 7 โรง การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามทักษะการเรียนรู้ 3Rs 8Cs การถอดบทเรียน (Lesson learned) จาก 3 กิจกรรม ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. ระดับ“ดี”ขึ้นไป ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของสถานศึกษาระดับปฐมวัยในสังกัดผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. ระดับ“ดี”ขึ้นไป ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. ระดับ“ดี”ขึ้นไป ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จในการเชื่อมโยงฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างอิงจากเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน 13 หลัก ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลผลการเรียนรายบุคคล / การจัดเก็บข้อมูลผลการเรียนผ่านระบบ SchoolMIS หรือระบบ DMC (โรงเรียนขยายโอกาส) โดยโรงเรียนยืนยันข้อมูลตามกำหนด (ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2563) ตัวชี้วัดที่ 11 การสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในองค์การ ตัวชี้วัดที่ 11.4 ร้อยละของโรงเรียนวิธีพุทธที่ผ่านการประเมินผลการดำเนินการ 29 ประการสู่โรงเรียนวิถีพุทธ | ประกาศผลคะแนนการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีผลการประเมินอยู่ใน อันดับที่ 71 (จาก 183 เขต) ได้คะแนน 4.46074 คิดเป็นร้อยละ 89.21 ระดับมาตรฐานขั้นสูง > คลิก ข้อสังเกตที่น่าสนใจ คือ ข้อ 2 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) เปรียบเทียบปี งบประมาณ 2562 ได้ 5 คะแนน ปี 2563 ได้ 1.58 คะแนน (ตามบันทึกวันที่ 15 มกราคม 2564) วิเคราะห์หาสาเหตุ #เนื่องจากผลการสอบของนักเรียนที่ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50 ชั้น ป.6 มีจำนวนลดลงทุกรายวิชา และ ม.3 ลดลง 2 รายวิชา ข้อ 4. ระดับความสำเร็จในการเชื่อมโยงฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างอิงจากเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน 13 หลัก ปี พ.ศ.2562 ไม่มีการประเมินผล ปี พ.ศ. 2563 ได้ผล 4.17815 ข้อสังเกต นักเรียนที่จบการศึกษาในระบบตามเกณฑ์ มีจำนวนไม่เท่ากับนักเรียนที่เข้าเรียนในระบบ ผลการดำเนินงานการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามบันทึก วันที่ 30 มิถุนายน 2563) > คลิก กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สพฐ. เป็นผู้กรอกข้อมูลในระบบ KRS โดยใช้คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จากสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ตัวชี้วัดที่ 6.8.4 ระดับความสำเร็จการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ หน่วยวัด : ร้อยละ แนวทางดำเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ประกอบด้วย 1. ด้านกายภาพ 7 ประการ 1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ 1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน 1.3 มีพระพุทธรูปประจ าห้องเรียน (อาจเป็นรูปภาพ หรือสัญลักษณ์) 1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดำรัสติดตามที่ต่าง ๆ 1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น 1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม 1.7 ไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 % 2. ด้านกิจกรรมประจำวันพระ 4 ประการ 2.1 ใส่เสื้อขาวทุกคน 2.2 ทำบุญใส่บาตร ฟังเทศน์ 2.3 รับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวัน 2.4 สวดมนต์แปล 3. ด้านการเรียนการสอน 5 ประการ 3.1 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนเข้าเรียน เช้า บ่าย ทั้งครู และ นักเรียน 3.2 บูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ และในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 3.3 ครู พานักเรียนทำโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3.4 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ 3.5 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียนทุกคน เข้าค่ายปฏิบัติธรรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน 5 ประการ 4.1 รักษาศีล 5 4.2 ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม 4.3 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร รับประทานอาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ 4.4 ประหยัด ออม ถนอมใช้ เงิน และ สิ่งของ 4.5 มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก 5. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ 5.1 ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน 5.2 ไม่ดุ ด่า นักเรียน 5.3 ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน 5.4 โฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทำความดี 5.5 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน มีสมุดบันทึกความดี 5.6 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไป) สอบได้ธรรมศึกษาตรีเป็นอย่างน้อย 5.7 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง 5.8 มีพระมาสอนอย่างสม่ำเสมอ ผลการดำเนินงาน : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ผลคะแนนที่ได้รับการประเมิน คือ 5 คะแนน 1. โรงเรียนวิถีพุทธที่ได้รับคะแนนรายโรงเรียนตั้งแต่ 3 ขึ้นไป จำนวน 120 โรงเรียน 2. โรงเรียนวิถีพุทธทั้งหมดตามเป้าหมาย จำนวน 120 โรงเรียน กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา กำกับ ติดตาม ให้สถานศึกษาในโครงการโรงเรียนวิถีพุทธประเมินตนเองตามอัตลักษณ์ 29 ประการ ผ่านเว็บไซต์ www.viteebuddha.com ตามระยะเวลาที่ สพฐ. กำหนด และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ(กลุ่มนิเทศฯ) รับรองการประเมินตนเองของโรงเรียนในสังกัดภายในระยะเวลาที่ สพฐ.กำหนด ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด: รอง ผอ.สพป.นครปฐม เขต 2 ที่รับผิดชอบกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ผู้จัดเก็บข้อมูล : 1. นายธีระพงษ์ ศรีโพธิ์ 2. นางพรสวรรค์ ตันมงคลกาญจน ผลการติดตามและประเมินKPI 2562-1 > คลิก ผลการติดตามและประเมินKPI 2562-2 > คลิก ผลการติดตามและประเมินKPI 2562-3 > คลิก เทคนิคการทำงาน : ประสาน กระตุ้น ติดตาม ร่วมแชร์แก้ไข ให้กำลังใจ สำเร็จได้ชมเชย สรุปผลการดำเนินงานการประเมินตัวชี้วัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รายงานการประชุม การประเมินตัวชี้วัด การปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ สพป.นครปฐม เขต 2 ครั้งที่ 1 คู่มือการประเมินตัวชี้วัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไฟล์ word > คลิก ไฟล์ PDF > คลิก การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ
ตัวชี้วัดที่ 6.2
มาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ
1 มาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ > คลิก
2 คู่มือแนวปฏิบัติการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย > คลิก
3 เกณฑ์การประเมินมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย > คลิก
สามารถศึกษาแนวทางตามมาตรการฯ ได้ที่ http://eesdobec.com และเข้าร่วมกลุ่มเครือข่ายสื่อสังคมออนไลน์ สพฐ. ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ที่ http://facebook.com/groups/eesdobec
แนวทางการดำเนินงาน : ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารับแนวทางการประเมินสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเรื่องมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
2. วางแผนการดำเนินการเรื่องมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในประเด็นการประเมินที่กำหนด ตามแนวทาง/วิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3. ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานเรื่องมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพจริง และประชาสัมพันธ์ถึงผู้รับบริการหรือบุคคลภายนอกได้ทราบ
4. เก็บข้อมูล เอกสารหลักฐาน และรายงานผลการดำเนินงานในระบบ KRS / KPI
|