การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการมีงานทำ

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการมีงานทำ
ตามแนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21



ประกาศ เรื่องแจ้ง ข่าวความเคลื่อนไหว

 ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 > คลิก
 สถานการณ์แรงงานและความต้องการแรงงานรายจังหวัดประจำเดือนมิถุนายน 2561 > คลิก
 โครงการทดลอง “การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ (Career Academy)” > คลิก
 เอกสารประกอบการการประชุม Video Conference ขับเคลื่อนนโยบายเส้นทางการศึกษาเพื่อการมีงานทำ วันที่ 31 มีนาคม 2560 สิ่งที่แนบมาด้วย
    เอกสารประกอบการประชุม Video Conference (31 มี.ค.60) > คลิก
 สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการมีงานทำ ในศตวรรษที่ ๒๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑ และครั้งที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร รายชื่อคณะทำงาน > คลิก
 การจัดสรรงบประมาณการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ ศธ ๐๔๒๒๙/๘๔๐ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรื่องจัดสรรงบประมาณค่าซ่อมแซมคุรุภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์เพื่อใช้ในการฝึกทักษะและประสบการณ์ของนักเรียน การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ > คลิก



        สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดำเนินงานตามนโยบายเส้นทางการศึกษาเพื่อการมีงาน มุ่งเน้น

        1. การจัดกิจกรรมแนะแนวตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มุ่งเน้นให้ นักเรียนรู้เส้นทางชีวิตตนเองว่า เรียนมาแล้วต้องการเลือกเส้นทางไหนให้กับชีวิตของตน ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ จึงกำหนดขอบข่ายการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพครบทุกชั้น (ดังภาพ) สอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพ  รวมทั้งการจัดกิจกรรมเสริมการแนะแนวอาชีพ เช่น โครงการ วันแนะแนวอาชีพ การเยี่ยมชมสถานประกอบการ การจัดตลาดนัดอาชีพ โครงการ Open House ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ

        2. การสร้างเสริมประสบการณ์อาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หมายถึง การให้นักเรียนเข้าสู่โลกของการทำงานตามสภาพจริงในสถานประกอบการ/แหล่งเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้โลกของอาชีพ สร้างเสริมทักษะและพัฒนาคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน

        นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาเว็บไซต์ทางการแนะแนว www.supergenz.com เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลด้านการแนะแนว ด้านวิชาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ข้อมูลโครงการห้องเรียนพิเศษ และข้อมูลสถานประกอบการเพื่อการสร้างเสริมประสบการณ์อาชีพ ที่เป็นปัจจุบันและเป็นประโยชน์ รวมทั้งมีการเชื่อมโยงนักเรียนไปยังแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบที่ช่วยให้รู้จักตนเอง รู้จักอาชีพ

Infographics เส้นทางการศึกษาเพื่อการมีงานทำ



หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา



ข้อมูล/สื่อ/แหล่งเรียนรู้

 7 สาขาาชีพแห่งอนาคต (ครู Eduzones) 
    EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 
    EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน > คลิก
    EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ > คลิก
    EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ > คลิก
    EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร > คลิก
    EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน > คลิก
    EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ > คลิก 
 หลักสูตร Private Pilot Ground School > คลิก 
 เรียนนักบิน > คลิก 
 คู่มือครูเอกสารประกอบการสอนวิชาชีพ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6) > คลิก
     1. การทำกล่องดินสอด้วยขวดน้ำ > คลิก  
     2. การประดิษฐ์กล่องออมสินแบบคันโยก > คลิก  
     3. ชุด LED สำหรับงานไฟฟ้าทั่วไป > คลิก 
     4. แสงสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ > คลิก 
 แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะสาขาวิชาชีพ (สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ.) > คลิก   
 คลังบทเรียนเสริมทักษะอาชีพ > คลิก  
 วีดีทัศน์การฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน) > คลิก 
 คอร์สเรียนออนไลน์พัฒนาทักษะวิชาชีพ กับ สอศ. > คลิก
 เรียนรู้สู่เส้นทางอาชีพ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (เล่ม1) > คลิก
 คลังบทเรียนเสริมทักษะอาชีพ > คลิก 
 ดาวน์โหลดเอกสาร ความสนใจในอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
        แบบวัดความสนใจในอาชีพ ป.4-6 > คลิก
        แบบสรุปความสนใจในอาชีพ ป.4 > คลิก
 การจัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษา [กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการนิเทศ สพฐ.] 19 มกราคม 2561
     รายวิชาเพิ่มเติม เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเปิดสอนเพิ่มเติมจากสิ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หรือความต้องการของท้องถิ่น โดยกำหนด “ผลการเรียนรู้” เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในรายวิชาเพิ่มเติมต่าง ๆ > คลิก



        หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

 หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ชุดที่ 1
        ปก > คลิก
        หน้า 1- 187 คลิก
        หน้า 188 - 362 คลิก
        ฉบับไฟล์เวิร์ด > คลิก
 หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ชุดที่ 2
       ฉบับไฟล์ PDF คลิก
       ฉบับไฟล์เวิร์ด > คลิก
 หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ชุดที่ 3
        หลักสูตรเกษตรกรรม > คลิก
        หลักสูตรพาณิชยกรรมและบริการ > คลิก
        หลักสูตรความคิดสร้างสรรค์ > คลิก
        หลักสูตรภาษาจีนเพื่อการอาชีพ > คลิก
        หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการอาชีพ > คลิก
        หลักสูตรอาชีพเฉพาะทาง > คลิก
        หลักสูตรอุตสาหกรรม > คลิก



บทความ

แนะหลักการและเทคนิคสอนเด็กสมาธิสั้น (ที่มีปัญหาในการเรียน) ให้ได้ผล > คลิก  
# 8 อาชีพมาแรง สำหรับบัณฑิตในยุคดิจิทัล > คลิก 
# 12 ไอเดียสอนนักเรียนเรื่องอาชีพให้สนุก > คลิก 
# การศึกษาเพื่อการมีงานทำ (เท่านั้นเองหรือ) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์ > คลิก 
# สพฐ.จัดทำแผนการศึกษาเพื่อการมีงานทำ > คลิก 
# การประชุมแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายเส้นทางชีวิตการศึกษาเพื่อการมีงานทำ (31 มีนาคม 2560) > คลิก
# ข้อเขียน ปี 2555 ของ อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศน.กศน    
    1. แบบติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ > คลิก
    2. แบบนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ > คลิก
    3. แบบรายงานการนิเทศ ติดตามผลและประเมินผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ > คลิก
    4. สื่อนำเสนอเรื่อง บทบาทครูอาสาสมัคร กศน. ในการนิเทศ ติดตาม > คลิก
    5. สื่อประเมินผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ > คลิก
# คู่มือการดำเนินงานโครงการการพัฒนาการจัดการศึกษาด้านอาชีพในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สพป.ลำพูน เขต 1 > คลิก
คู่มือการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ จังหวัดชลบุรี พุทธศักราช 2559 > คลิก
# การเตรียมความพร้อมการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ จังหวัดชลบุรี > คลิก 



 ข้อมูลแหล่งเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนจังหวัดนครปฐม ปี 2561
        - ฟักข้าว
        - แม่ฉุย
 ศูนย์เรียนรู้ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดนครปฐม คลิก
        ต.แหลมบัว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม > คลิก
        - แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐม > คลิก
        - โครงการส่งเสริมพัฒนาตลาดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ SME ปี 2561 > คลิก
        - สสว. ศูนย์ OSS นครปฐม > คลิก
        - วิทยากรอาชีพอิสระ > คลิก



ดาวน์โหลดเอกสาร
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการมีงานทำ

คู่มือการประกวดโครงงาน
สะเต็มศึกษาสู่การประกอบอาชีพ
ตามแนวทางพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง
พ.ศ. 2562 > คลิก

คู่มือการใช้แบบวัดแวอาชีพ ม.ต้น (กรมวิชาการ 2545) > คลิก

http://www.nitessatun.net/wp-content/uploads/2016/05/meework001.pdf
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการมีงานทำตามแนวทาง
การจัดทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 

https://secondary.obec.go.th/newweb/wp-content/uploads/2017/12/367-aw-all-e-Book.pdf
การขับเคลื่อนการศึกษามัธยมศึกษาไทย 4.0 เพื่อการมีงานทํา
แห่งศตวรรษที่ 21

https://secondary.obec.go.th/newweb/wp-content/uploads/2017/12/E-CEN21book.pdf
แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
ที่เน้นสมรรถนะสาขาวิชาชีพ

https://secondary.obec.go.th/newweb/wp-content/uploads/2017/12/E_University.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการเตรียมความพร้อมอุดมศึกษา

https://secondary.obec.go.th/newweb/wp-content/uploads/2017/12/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1_%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%A8.pdf
การจัดการศึกษาโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายในสถานศึกษาสังกัด สพฐ.

คู่มือคัดเลือกครูต้นแบบ
การจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
ประจำปี 2561 > คลิก

https://drive.google.com/file/d/0B_9GS0q7GpliRmtuOFo4cU52RW8/view?usp=sharing
แนวทางการจัดทำ
แผนการเรียนรู้รายบุคคล
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพิ้นฐาน
พุทธศักราช 2551

http://www.lertchaimaster.com/doc/manualEdContineu59.pdf
คู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559

https://drive.google.com/file/d/0B3XnlhB1_LWIalhHQlZ0V1IzMnc/view

http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1575-file.pdf


Comments