การส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

  
  
โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ฯ

 รายชื่อโรงเรียนที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณจัดซื้อหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ประจำปีงบประมาณ 2561 สพป.นครปฐม เขต 2
    โรงเรียนวัดไร่ขิง (สุนทรอุทิศ) / โรงเรียนพระต้าหนักสวนกุหลาบ มหามงคล / โรงเรียนวัดประชานาถ / โรงเรียนวัดบึงลวดสวาย
 การโอนเปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย งบประมาณปี 2561 ครั้งที่ 371 (จัดซื้อหนังสือพระราชนิพนธ์ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี) > คลิก
 สาระสำคัญหนังสือพระราชนิพนธ์ ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี > คลิก
 คู่มือการดำเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจำปีงบประมาณ 2561 > คลิก
 หนังสือดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2561 > คลิก
 แนวทางกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี > คลิก



การดำเนินงานโครงการส่งเสริมรักการอ่าน สพป.นครปฐม เขต 2
 
วันที่ 19 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน 2557
 

    การประชุมผู้รับผิดชอบโครงการส่งเสริมรักการอ่านและห้องสมุดโรงเรียน ณ โรงเรียนต่าง ๆ ของ สพป.นครปฐม เขต 2 
วัตถุประสงค์ : เพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมรักการอ่านและห้องสมุดโรงเรียน เพื่อจัดทำเอกสารสื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน และห้องสมุดมีชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย : ครูผู้ปฏิบัติหน้าที่งานห้องสมุดหรือโครงการส่งเสริมรักการอ่าน ภาคเช้าและภาคบ่าย ตามตาราง
คณะวิทยากร : ศน.วิไลวรรณ ตรีชั้น และคณะศึกษานิเทศก์ประจำกลุ่มเครือข่ายการนิเทศ   อัลบั้มภาพ > คลิก

วันที่ 5 - 6 กรกฎาคม 2556

        การประชุมปฏิบัติการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ.(OBEC Library Automation System) สังกัด สพป.นครปฐม เขต 2  ตามโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโดยบูรณาการห้องสมุด 3 ดี  ประจำปี 2556  ณ ห้องเพชรดี โรงแรมเวล จังหวัดนครปฐม
วัตถประสงค์ : เพื่อพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดอัตโนมัติของ สพฐ. ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ น่าสนใจมีระบบที่มีคุณภาพตามมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน 
กลุ่มเป้าหมาย : ครูบรรณารักษ์ของโรงเรียนที่แสดงความจำนงเข้าร่วมโครงการ จำนวน  70   คน
หลักสูตร เนื้อหาสาระ : โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. / ระบบงานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด / การนำเข้าข้อมูลบรรณานุกรม การสำรองข้อมูล / ระบบงานบริการยืม - คืน / การนำเข้าข้อมูลสมาชิก / ระบบงานสนับสนุน / การสำรองและกู้คืนข้อมูล / การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด / ระบบงานสถิติและรายงาน 
วิทยากร : นางสาวนวภรณ์ ซังบุดดา หัวหน้าโครงการพัฒนาห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. / นางสาวประนอม เพ็งพันธ์ เลขานุการโครงการพัฒนาห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. / นาวสาวเจตนา พรมประดิษฐ์ ผู้ช่วยเลขานุการโครงการฯ / นางอังสนา ม่วงปลอด นักวิชาการศึกษาด้านเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สทร. / นางสาวขวัญฟ้า นิยมในธรรม ข้าราชการบำนาญ สพฐ. / นายเกียรติศักดิ์ โพคณารักษ์ นักพัฒนาระบบด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / นางบรรจง  แสงนภาวรรณ ครูโรงเรียนวัดดอนยายหอม 
        อัลบั้มภาพ > คลิก


แนวคิด บทความ สื่อ

 แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยเพื่อแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ > คลิก   
 แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน (8 ต.ค. 56) คลิก
 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556 (8 ต.ค. 56) > คลิก
 10 วิธีฝึกให้ลูกมีนิสัยรักการอ่าน > คลิก 
 "วันรักการอ่าน"  > คลิก 
 ห้องสมุดดิจิทัล : ปัจจุบันและอนาคต  > คลิก 
 ทำความรู้จักกับ ห้องสมุดดิจิตอล คลิก 
 ฐานข้อมูลสำหรับห้องสมุดดิจิทัล คลิก 
 ห้องสมุดดิจิทัล : ทำไม่ยาก แต่ทำอย่างไร ? คลิก 
 TAG: ห้องสมุดดิจิทัล แนวโน้มที่น่าสนใจเกี่ยวกับห้องสมุดและเทคโนโลยี คลิก 
 โครงการห้องสมุดดิจิตอลเพื่อการเรียนรู้ สสค.คลิก
 ห้องสมุดไร้หนังสือจะถือว่าเป็นห้องสมุดได้หรือไม่ คลิก 



เอกสาร คู่มือ แนวทาง การส่งเสริมรักการอ่าน

http://www.academic.obec.go.th/images/document/1522825139_d_1.pdf
http://www.academic.obec.go.th/images/document/1524125278_d_1.pdf http://www.academic.obec.go.th/images/document/1522825200_d_1.pdf
http://main.library.tu.ac.th/km/wp-content/uploads/2015/03/New-Library.pdf
https://drive.google.com/file/d/0B40IkTKuesIMM0hDcXFBMERqcHc/view?usp=sharing
http://202.143.185.13/plan/EbookDATA/Ebook10.pdf


คู่มือการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน










แนวคิดในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน  

      การอ่านหนังสือเป็นการพัฒนาตนเอง และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นมากในการพัฒนาคนและพัฒนาสังคม การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือ แล้ว โดยเฉพาะการอ่านหนังสือที่ดี และมีสาระยิ่งมีน้อยขึ้นไปอีก สาเหตุ มีอยู่หลายประการ นับตั้งแต่การขาดแคลนหนังสือที่ดีและตรงกับความต้องการ ของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือที่จะยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความสนใจและการแย่งเวลาของสื่ออื่น ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง ฯลฯ รวมทั้งขาดการชักจูง การกระตุ้น และมีนิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกโรงเรียน เมื่อเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ฟัง ได้รู้เห็น เรื่องต่าง ๆจากโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียงแล้วการอ่านหนังสือเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่า และต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังเกิดเป็นนิสัยจำเป็นต้องมีการปลูกฝังและชักชวนให้เกิด ความสนใจการอ่านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักอ่าน ซึ่งควรมีลักษณะดังนี้
    1. เร้าใจให้เกิดความยากอ่านหนังสือ
    2. ให้เกิดความพยายามที่จะอ่านเพื่อจะได้รู้เรื่องที่น่ารู้ที่มีอยู่ในหนังสือ และน่าสนุก ตามกิจกรรมที่จัดขึ้น
    3. แนะนำ กระตุ้นให้อยากรู้อยากเห็นเรื่องน่ารู้ต่างๆเกิดความรอบรู้คิดกว้างมีการอ่านต่อเนื่องจนเป็นนิสัย
    4. สร้างบรรยากาศที่น่าอ่าน รวมทั้งให้มีวัสดุการอ่าน มีแหล่งการอ่านที่เหมาะสมและเพียงพอ


ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน


        การจัดกรรมส่งเสริมการอ่านให้มีประสิทธิภาพควรมีการเตรียมพร้อมและคำนึงถึงในเรื่องต่อไปนี้

    1. จัดห้องสมุด สำหรับให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เข้าสู่บรรยากาศของการอ่านและได้ใกล้ชิดกับหนังสือมาก ยิ่งขึ้น เช่น จัดนิทรรศการหนังสือในโอกาสต่างๆจัดกิจกรรมเพื่อชวนให้อ่านหนังสือสม่ำเสมอฯ ลฯ

    2. ครูผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรมรการศึกษา เตรียมพร้อมทั้งในด้านวิธีการดำเนินการสื่อ อุปกรณ์ เพื่อให้การจัดกิจกรรมดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามเป้าหมาย และจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ รวมทั้งต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องนิสัยรักการอ่านด้วย

    3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ต้องเป็นกิจกรรมที่เร้าใจท้าทายความสนใจความสามารถของผู้เรียน รวมทั้งมีความหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆอย่างมีความสุข และเป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง

    4. ครูผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลในด้านการอ่านของนักเรียนรายบุคคล เพื่อที่จะจัดกิจกรรมสนองกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนได้ อย่างเหมาะสม
    
    5. ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หากนำตัวอย่างจากเอกสารฉบับนี้ไปใช้ ควรปรับปรุงหรือดัดแปลงให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม เพื่อให้กิจกรรมดูน่าสนใจแปลกใหม่และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง

    6. นอกจากโรงเรียนจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างนิสัยการรักการอ่านให้แก่นักเรียน จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากพ่อแม่ ผู้ปกครองอีกทางหนึ่งด้วย เพื่อให้การปลูกฝังนิสัยรักการอ่านเป็นไปอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

กิจกรรมเสนอแนะ
  
        การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน นับว่าเป็นวิธีการที่จะช่วยให้การมีความสนุกสนานเพลิดเพลินและเป็นแรงจูงใจ ให้ผู้อ่านได้อ่านอย่างมีความสุข ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนั้นมักมีกิจกรรมที่คล้ายกันหรือซ้ำกัน  อาจสรุปประเภทของกิจกรรมส่งเสริมการอ่านได้ ดังนี้ 
        1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเน้นทักษะการอ่าน
            - เล่านิทาน
            - เชิดหุ่น
            - Reading Rally . ว่างจากงาน อ่านทุกคน
            - แข่งขันตอบปัญหา
            - ห้องสมุดเคลื่อนที่
            - ค่ายการอ่าน
            - แข่งขันตอบคำถามสารานุกรม
            - ยอดนักอ่านฯลฯ
        2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการเผยแพร่ข่าวสาร
            - เสียงตามสาย
            - วันสำคัญ
            - ย่ามหนังสือสู่ชุมชน
            - แหล่งความรู้ในท้องถิ่น
            - นิทรรศการฯลฯ
        3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการแก้ไขและพัฒนา
            - คลินิกหมอน้อย
            - พี่ช่วยน้อง
            - ให้ความรู้การใช้ห้องสมุด
            - แข่งขันเปิดพจนานุกรมฯลฯ
        4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นพัฒนาทักษะอันต่อเนื่อง
            - หนูน้อยนักล่า
            - เล่าเรื่องจากภาพ
            - จากบทเพลงสู่งานเขียน
            - โต้วาที
            - เรียงความยุวทูตความดีฯลฯ

ที่มา : http://librarytest.spu.ac.th 



http://www.thai-library.org/
»» iTunes U
»» TED Ed
»» Khan Academy ไทย
»» SciShow
»» Vsauce 
»» Tag Archives: TULIB App  คลิก
»» ห้องสมุดโรงเรียนชัยบาดาลวิทยา จ.ลพบุรี คลิก
»» ห้องสมุดดิจิตอลโรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์ > คลิก
»» เว็บไซต์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คลิก

https://www.facebook.com/OBEC.Read/

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/ngan-khorngkar-phises/rak/9%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%872.jpg

https://sites.google.com/a/hi-supervisory5.net/npt2/ngan-khorngkar-phises/rak/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99.jpg?attredirects=0

http://loadebookstogo.blogspot.com/2012/08/blog-post_1000.html#.V57q3tJ97ix

https://www.facebook.com/pg/ruready2read/photos/?tab=albums


ห้องสมุด 4.0
CRRU e-Book ห้องสมุดในมือคุณ

แอปพลิเคชันสำหรับสมาชิกห้องสมุดศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)

การใช้ Application NBTC
 E-Library ห้องสมุดเล็กทรอนิกส์ 
สำนักงาน กสทช.

“Learning Space,
Community Space, Maker Space
แนวโน้มสู่ห้องสมุดอนาคต”

TK Public Online Library
ห้องสมุดในมือคุณ

"อุทยานการเรียนรู้ TK PARK" 
ห้องสมุดของคนรุ่นใหม่-Springnews

บรรณารักษ์ในยุคปัจจุบันกับบริการ
คลังความรู้ยุคใหม่

ศิริราช 360° หอสมุดไฮเทค

ห้องสมุดวิศวะ จุฬาฯ ลดหนังสือ
เพิ่มพื้นที่เรียนรู้

เส้นทางการพัฒนาห้องสมุดออนไลน์



Comments